Page 28 - Optimization
P. 28

28                ABB in brief







         Health Tips
         Long Covid (โควิดระยะยาว)




         ของฝากหลังติดเชื้อโควิด-19






          ภาวะ Long Covid ที่ถูกพูดถึงกันอย่างแพร่หลายนี้ คืออาการของผู้ที่หายจากการติดเชื้อโควิด-19 แล้ว

          แต่ยังหลงเหลืออาการทางร่างกายและจิตใจในผู้ป่วยบางราย โดยกระทรวงสาธารณสุขเปิดเผยว่า สามารถพบได้ถึง
          30-50% อาจมาจากความเครียดสะสม และผลจากการใช้ยาที่มีส่วนผสมของกลุ่มสเตียรอยด์



                                                                            กลุ่มเสี่ยงของผู้ป่วยที่พบอาการ Long Covid ส่วนใหญ่
                                                                        พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย (โดยเฉพาะวัยท�างาน) นอกจากนี้
                                                                        ยังพบในผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะอ้วน ผู้ที่มีโรคประจ�าตัว และผู้ที่
                                                                        มีภูมิคุ้มกันต�่า


                                                                        แนวทางการฟื้นฟูส�าหรับผู้ที่มีอาการ Long Covid
                                                                           .  รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในทุกๆ มื้อ โดยเน้น
                                                                             อาหารที่มีโปรตีน ช่วยฟื้นฟูและซ่อมแซมร่างกาย เช่น
                                                                             ไข่ เนื้อสัตว์ ถั่วต่างๆ ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีต ธัญพืช
                                                                             ผักและผลไม้

                                                                           .  ออกก�าลังกายเบาๆ เคลื่อนไหวช้าๆ ให้ร่างกายได้เกิด
                                                                             การขยับเขยื้อน นอกจากนี้ การนั่งสมาธิยังสามารถ
                                                                             ช่วยให้เกิดการผ่อนคลาย ส่งผลดีทั้งต่อร่างกายและ
                                                                             จิตใจ
                               อาการ Long Covid ไม่มีลักษณะตายตัว ซึ่งอาจเกิดขึ้น
                           กับผู้ป่วยโควิด-19 หลังจากที่ได้รับเชื้อประมาณ 4-12 สัปดาห์   .  นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
                           ขึ้นไป บางรายอาจได้รับผลกระทบต่อร่างกาย เช่น ระบบ
                           หายใจ ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร รวมถึงหัวใจและ  ขณะเดียวกันควรงดรับประทานอาหารปิ้งย่าง ของทอด
                           หลอดเลือด ส่งผลต่อจิตใจ ท�าให้ไม่สามารถกลับมาใช้ชีวิต  ของมัน อาหารส�าเร็จรูป ที่ส�าคัญควรเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
                           ปกติได้ โดยอาการที่พบบ่อยคือ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย มีไข้  และงดการสูบบุหรี่ เนื่องจากสิ่งเหล่านี้อาจมีผลท�าให้ภูมิคุ้มกัน
                           เจ็บคอ รับรสหรือรับกลิ่นได้น้อยลง ปวดหัว สมองล้า   ในร่างกายลดต�่าลง
                           นอนหลับยาก ผมร่วง มีอาการวิตกกังวลจนถึงขั้นซึมเศร้า
                           ในเด็กอาจมีอาการโรคคาวาซากิ (Kawasaki Disease) คือ   แม้ว่าภาวะ Long Covid ยังไม่มีสาเหตุที่แน่ชัด และไม่ได้
                           เกิดการอักเสบของอวัยวะต่างๆ เช่น มีไข้ มีผื่นขึ้น ตาแดง   เกิดกับผู้ป่วยทุกคนที่ติดเชื้อ แต่อาจท�าให้เกิดผลกระทบ
                           ซึ่งอาการนี้อาจเกิดขึ้นได้ในขณะที่ติดเชื้อโควิด-19 หรือ  ต่อสภาพจิตใจของผู้ป่วยได้ในระยะยาว ดังนั้น การฉัดวัคซีน
                           หลังจากหายแล้ว จึงต้องหมั่นเฝ้าสังเกตอาการไม่ให้เกิด  ต้านโควิด-19 จึงมีส่วนส�าคัญที่จะช่วยลดความรุนแรง
                           ภาวะแทรกซ้อนจนถึงขั้นรุนแรง                  ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ติดเชื้อ และแม้ว่าปริมาณการติดเชื้อจาก
                                                                        โควิด-19 จะลดน้อยลง ก็ยังคงต้องปฏิบัติตามมาตรการ
                               ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นคือ ไตวายเฉียบพลัน   ป้องกันอย่างเคร่งครัด ทางที่ดีควรดูแลป้องกันตนเองอย่าง
                           ตับอักเสบ ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ลิ่มเลือดอุดตัน  สม�่าเสมอ โดยสวมหน้ากากอยู่เสมอ เว้นระยะห่าง ล้างมือ
                           และในผู้ป่วยที่ได้รับยาในกลุ่มสเตียรอยด์ อาจมีอาการของ บ่อยๆ และหลีกเลี่ยงการไปในพื้นที่ที่แออัดก็จะช่วยลด
                           โรคกระเพาะ กรดไหลย้อน และเบาหวานได้          ความเสี่ยงในการติดโควิด-19 ได้แน่นอน
   23   24   25   26   27   28   29   30