Page 70 - รายงานประจำปี ๒๕๖๔ กระทรวงวัฒนธรรม
P. 70

๖.            กิจกรรมพัฒนาการออกแบบเครื่องแต่งกายร่วมสมัยชายแดนใต้







                         กระทรวงวัฒนธรรม โดยส�านักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ได้ด�าเนินกิจกรรมการพัฒนาการออกแบบ
                       เครื่องแต่งกายร่วมสมัยชายแดนใต้มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ จนถึงปัจจุบัน เพื่อพัฒนา
                       และเพิ่มพูนทักษะ ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานศิลปะการออกแบบเครื่องแต่งกายร่วมสมัย
                       และเปิดพื้นที่ให้กับศิลปินในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ได้ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย
                       และเผยแพร่ต่อสาธารณชน โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ มีการด�าเนินการดังต่อไปนี้






             ๑)  พัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าและภูมิปัญญาชุมชน
           โดยด�าเนินการจัดอบรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าไทยชายแดนใต้
           ให้มีความร่วมสมัย  เน้นการพัฒนาลวดลายที่สามารถต่อยอด
           จากรากฐานวัฒนธรรม ระหว่างวันที่ ๓๐ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ โรงแรม
           ซี. เอส. ปัตตานี จังหวัดปัตตานี มีกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ประกอบการ/
           กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนด้านสิ่งทอ นักเรียน นักศึกษา กลุ่มสตรี
           กลุ่มเยาวชน และประชาชนในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้
           ๔ อ�าเภอในจังหวัดสงขลา (อ�าเภอจะนะ เทพา นาทวี และสะบ้าย้อย)
           ผู้เข้าร่วมอบรม จ�านวน ๓๐๐ คน ผู้ชมคลิปออนไลน์ จ�านวน ๑,๐๐๐ คน
           ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวท�าให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
           และองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรม
           ร่วมสมัย รวมทั้งสร้างแรงบันดาลใจและความคิดสร้างสรรค์ อันเป็น
           สื่อกลางในการสร้างความสมานฉันท์และการอยู่ร่วมกัน
           แบบพหุวัฒนธรรม




                                                            ๒) ประกวดออกแบบเครื่องแต่งกายจากผ้าไทยร่วมสมัย
                                                          ชายแดนใต้ “Batik City” เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธ์
                                                          ให้กับกลุ่มเป้าหมาย  และประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจ
                                                          และมีความสามารถรวมถึงทักษะด้านการออกแบบเครื่องแต่งกาย
                                                          ส่งผลงานเข้าร่วมกิจกรรม และน�าผลงานนั้นไปสนับสนุนต่อยอด
                                                          ภูมิปัญญา น�านวัตกรรมมาผนวกกับความคิดสร้างสรรค์ เกิดเป็น
                                                          ผลงานการออกแบบเครื่องแต่งกายที่มีความร่วมสมัยที่มีคุณค่า
                                                          ทางจิตใจ และมีมูลค่าในเชิงอุตสาหกรรมวัฒนธรรม โดยมีผู้สนใจ
                                                          ส่งผลงานการออกแบบทั้งสิ้น  ๓๑๙  ราย  และมีผู้ผ่าน
                                                          การคัดเลือกให้น�าผลงานการออกแบบไปต่อยอดเป็นผลงาน
                                                          เครื่องแต่งกาย จ�านวน ๑๕ ราย มีการจัดท�า Fashion Video
                                                          น�าเสนอผลงานเครื่องแต่งกายจากนักออกแบบ ๑๕ ราย เผยแพร่
                                                          บนช่อง YouTube ของส�านักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย









                                     รายงานประจำาปี ๒๕๖๔   70     กระทรวงวัฒนธรรม
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75