Page 32 - รายงานสถานการณ์ การระงับข้อพิพาททางเลือกประเทศไทย ประจำปี 2565
P. 32

32     รายงานสถานการณ์การระงับข้อพิพาททางเลือก
                ประเทศไทย ประจำาปี 2565







                                                                    เมื�อวันที� 28 กรกฎาคม 2565 ท่�ผู้่านมา สถาบัน
                                                             อนุญาโต้ตุ้ลาการ (THAC) นำาโดืยู่ นายู่พิสิษฐ์ อัศววัฒนาพิร
                                                             ผู้่้อำานวยู่การสถาบันฯ พิร้อมดื้วยู่ คุณ หวาง เหวยู่จัุน เลข้าธัิการ
                                                             ใหญ่ประจัำาศ่นยู่์ Shanghai International Arbitration Center
                                                             (SHIAC)  คุณเชีน  ฮอง  ผู้่้อำานวยู่การฝ่่ายู่ส่งเสริมการค้าและ
                                                             การลงทุน  Shanghai  Council  For  the  Promotion  of
                                                             International  Trade  (CPIT)  ร่วมกับจัรดืปากกลงนาม
                                                             ความร่วมมือ (MoU) ในนามข้องศ่นยู่์ระงับข้้อพิิพิาททางเลือก
                                                             ประจัำาประเทศไทยู่ และสาธัารณรัฐประชีาชีนจั่นเพิื�อผู้น่กกำาลัง
                                                             เต้ร่ยู่มความพิร้อมรับมือการระงับข้้อพิิพิาทท่�อาจัะเกิดืข้่�น
                                                             ในยูุ่ทธัศาสต้ร์ทางการค้า  One  Belt  One  Road  (OBOR)
                                                             โดืยู่พิิธั่ไดื้จััดืข้่�นผู้่าน Zoom
                นอกจัากน่� พิิธั่ลงนามดืังกล่าว ปาฐกถาพิิเศษจัากผู้่้เชี่�ยู่วชีาญดื้านการระงับข้้อพิิพิาททางเลือกโดืยู่ นายู่วิศิษฏ์ ศร่วัฒนปัญญา
         ท่�ปร่กษากฎหมายู่ประจัำาสถาบันฯ  ร่วมกับ  คุณ  เหยู่า  ฮองมิน  รองเลข้าธัิการ  SHIAC  ภายู่ใต้้หัวข้้อ  “แนวทางปฏิบัต้ิดื้านการ
         อนุญาโต้ตุ้ลาการใหม่ระหว่างประเทศไทยู่กับจั่น” โดืยู่กล่าวถ่งประเดื็นการส่งเสริมและพิัฒนา การระงับข้้อพิิพิาททางเลือกทั�งใน
         ดื้านการอนุญาโต้ตุ้ลาการ และการประนอมข้้อพิิพิาท ทั�งในดื้านความร่วมมือในการศ่นยู่์ระงับข้้อพิิพิาทไทยู่ – จั่น (TCIAC) โดืยู่มุ่งหวัง
         ท่�จัะสร้างความเชีื�อมั�น และลบผู้ลกระทบข้องความข้ัดืแยู่้งในธัุรกิจั หรือการลงทุนระหว่างประเทศ ท่�ม่ความแต้กต้่างข้องข้้อกฎหมายู่
         ในแต้่ละประเทศ
                ยู่ิ�งไปกว่านั�น พิิธั่การลงนามดืังกล่าวยู่ังม่หัวข้้อเสวนาท่�น่าสนใจัอ่กหน่�งประเดื็นเชี่นกันอยู่่าง “ผู้ลกระทบข้องความต้กลง
         หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจัระดืับภ่มิภาค (RCEP) ในแง่ข้องการอนุญาโต้ตุ้ลาการระหว่างประเทศ” โดืยู่ไดื้รับเก่ยู่รต้ิจัากผู้่้เชี่�ยู่วชีาญไม่ว่า
         จัะเป็นคุณ วรพิจัน์ เจันสวัสดืิชีัยู่ เลข้านุการกรมสนธัิสัญญาและกฎหมายู่ คุณดืลพิร อัชีววรกุล ผู้่้อำานวยู่การสำานักงานเศรษฐกิจั
         การลงทุน ณ นครเซึ่่�ยู่งไฮ้ ต้ลอดืจันคุณเพิชีรลดืา พิ่�งประเสริฐ ท่�ปร่กษากฎหมายู่ประจัำาสถาบันฯ เข้้าร่วมเสวนาแลกเปล่�ยู่นองค์ความร่้
         และประสบการณ์ร่วมกัน ถ่งท่�มา ปัจัจัุบัน อุปสรรค และความท้าทายู่ข้องกระบวนการอนุญาโต้ตุ้ลาการในประเทศไทยู่ท่�ต้้องเผู้ชีิญ
         กับข้้อพิิพิาททางการลงทุนกับการค้าเสร่ท่�ใหญ่ท่�สุดืข้องโลกอยู่่าง Regional Comprehensive Economic Partnership หรือ (RCEP)








                                                                   เมื�อวันที� 8 กันยายน 2565 สถาบันอนุญาโต้ตุ้ลาการ (THAC)
                                                            และสมาคมต้ัวแทนออกข้องรับอนุญาต้ไทยู่ (TACBA) ไดื้ร่วมลงนามบันท่ก
                                                            ข้้อต้กลงความร่วมมือทางวิชีาการ โดืยู่ม่นายู่ธัเนศ  โสรัต้น์ นายู่กสมาคม
                                                            ต้ัวแทนออกข้องรับอนุญาต้ไทยู่ และนายู่พิิสิษฐ์ อัศววัฒนาพิร ผู้่้อำานวยู่การ
                                                            สถาบันอนุญาโต้ตุ้ลาการเป็นผู้่้ลงนาม พิร้อมทั�ง
                                                                   นางสาวมัชีฌิิมธัร  คัมภิรานนท์  รองผู้่้อำานวยู่การสถาบัน
                                                            อนุญาโต้ตุ้ลาการและนายู่พิิพิัฒน์ชีัยู่  จัันทร์เรือง  เลข้าธัิการสมาคม
                                                            ต้ัวแทนออกข้องรับอนุญาต้ไทยู่  ร่วมลงนามเป็นพิยู่าน   ณ  สถาบัน
                                                            อนุญาโต้ตุ้ลาการ
                                                                   การลงนามบันท่กข้้อต้กลงความร่วมมือทางวิชีาการในครั�งน่�
                                                            มุ่งไปท่�การสนับสนุนทางวิชีาการดืำาเนินการระงับข้้อพิิพิาททางเลือก การฝ่ึก
                                                            อบรม การสัมมนา การประชีุมทางวิชีาการ การพิัฒนาบุคลากร และกิจักรรม
                                                            ทางวิชีาการต้่างๆ รวมถ่งส่งเสริมให้ม่การแลกเปล่�ยู่นข้้อม่ล ข้่าวสาร หรือ
                                                            องค์ความร่้ต้่างๆ ท่�เก่�ยู่วเนื�องกับการระงับข้้อพิิพิาททางเลือก
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37