Page 101 - รายงานประจำปี 2566
P. 101
บร่ิษัท คุ้มภัยั่โตเกั่ยั่วม�ร่ีนปร่ะกัันภัยั่ (ปร่ะเทศไทยั่) จำ�กััดั (มห้�ชี่น)
บริษัท คุ้มภัยโตเกียวมารีนประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำาหรับปีสิ�นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566
สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที�ใช้เป็นดังนี�
พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2565
อัตราคิดลด ร้อยละ 2.8 ร้อยละ 2.6
อัตราการเพิ�มขึ�นของเงินเดือน ร้อยละ 4.8 ร้อยละ 4.5
การเกษียณอายุ 60 ปี 60 ปี
อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน ร้อยละ 2 - 12 ร้อยละ 2 - 12
เมื�อเกษียณอายุ (พันบาท)
การเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติ การเพิ�มขึ�นของข้อสมมติ การลดลงของข้อสมมติ
พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2565
อัตราคิดลด ร้อยละ 1 ร้อยละ 1 (24,408) (19,939) 28,491 23,139
อัตราการเพิ�มขึ�นของเงินเดือน ร้อยละ 1 ร้อยละ 1 27,620 22,455 (24,190) (19,778)
การวิเคราะห์ความอ่อนไหวข้างต้นนี�อ้างอิงจากการเปลี�ยนแปลงข้อสมมติ ขณะที�ให้ข้อสมมติอื�นคงที� ในทางปฏิบัติ
สถานการณ์ดังกล่าวยากที�จะเกิดขึ�น และการเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติอาจมีความสัมพันธ์กัน ในการคํานวณการวิเคราะห์
ความอ่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ที�กําหนดไว้ที�มีต่อการเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติหลักได้ใช้วิธีเดียวกับ
มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ที�กําหนดไว้คํานวณด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที�ประมาณการไว้
(Projected Unit Credit Method) ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงานในการคํานวณหนี�สินบําเหน็จที�รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงิน
วิธีการและประเภทของข้อสมมติที�ใช้ในการจัดทําการวิเคราะห์ความอ่อนไหวไม่ได้เปลี�ยนแปลงจากปีก่อน
ระยะเวลาถัวเฉลี�ยถ่วงนํ�าหนักของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566 คือ 10 ปี
(พ.ศ. 2565 : 9 ปี)
การวิเคราะห์การครบกําหนดของการจ่ายชําระผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุที�ไม่มีการคิดลด
พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2565
พันบาท พันบาท
ผลประโยชน์ที�คาดว่าจะจ่ายชําระน้อยกว่า 1 ปี 10,664 12,573
ผลประโยชน์ที�คาดว่าจะจ่ายชําระระหว่าง 1 - 2 ปี 21,606 13,959
ผลประโยชน์ที�คาดว่าจะจ่ายชําระระหว่าง 2 - 5 ปี 52,825 48,182
ผลประโยชน์ที�คาดว่าจะจ่ายชําระเกินกว่า 5 ปี 748,881 586,215
รวมผลประโยชน์ที�คาดว่าจะจ่ายชําระ 833,976 660,929
70
รายงานประจำาปี 2566 | ANNUAL REPORT 2023 | 101