Page 70 - รายงานประจำปี 2566
P. 70

บร่ิษัท คุ้มภัยั่โตเกั่ยั่วม�ร่ีนปร่ะกัันภัยั่ (ปร่ะเทศไทยั่) จำ�กััดั (มห้�ชี่น)
               บริษัท คุ้มภัยโตเกียวมารีนประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)
          หมายเหตุประกอบงบการเงิน
               หมายเหตุประกอบงบการเงิน
          สำาหรับปีสิ�นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566
               สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566



                    (ข)  การสํารองค่าสินไหมทดแทน



                          เงินสํารองค่าสินไหมทดแทนค้างจ่ายรวมถึง ค่าสินไหมทดแทนที�ยังค้างชําระ ค่าใช้จ่ายในการจัดการ
                          ค่าสินไหมทดแทน และประมาณการค่าสินไหมทดแทนสําหรับความเสียหายที�เกิดขึ�นแล้วแต่ยังไม่ได้รับ
                          รายงาน (“IBNR”) ตลอดจนค่าสินไหมทดแทนที�ได้รับรายงานแล้วแต่สํารองไว้ไม่เพียงพอ (“IBNER”)



                          เงินสํารองดังกล่าวแสดงประมาณการค่าสินไหมทดแทนที�คาดว่าจะจ่ายในอนาคตสําหรับค่าสินไหม
                          ทดแทนที�ได้รับรายงานแล้วและยังไม่ได้รับรายงาน รวมถึงค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับเหตุการณ์ที�เกิดขึ�นกับ
                          ผู้เอาประกันภัย การสํารองเป็นกระบวนการที�ซับซ้อนที�จัดการกับความไม่แน่นอน ซึ�งต้องอาศัยการ
                          ประมาณการและดุลยพินิจในการตัดสินใจ ความล่าช้าในการแจ้งเคลมและข้อมูลในอดีตอาจส่งผลต่อการ
                          ตัดสินใจในการประมาณการหนี�สินคงค้าง สํารองสําหรับค่าสินไหมทดแทนและค่าใช้จ่ายในการจัดการ
                          ค่าสินไหมทดแทนจะถูกพิจารณาบนพื�นฐานของข้อมูลปัจจุบัน ซึ�งถือเป็นเรื�องปกติที�ค่าสมบูรณ์ของ

                          หนี�สินจะแตกต่างจากการพัฒนาที�เกิดขึ�นจริงต่อมาภายหลัง ค่าสมบูรณ์ของหนี�สินจะถูกประมาณขึ�นและ
                          ได้รับการรับรองจากนักคณิตศาสตร์ประกันภัยของบริษัท


                    (ค)  การประกันภัยต่อ



                          บริษัทจัดให้มีระบบการบริหารความเสี�ยงโดยรวมอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล และมีการจัดสรร
                          ทรัพยากรอย่างเหมาะสม เพื�อให้บรรลุเป้าหมายการดําเนินธุรกิจของบริษัทซึ�งจะทําให้บริษัทมีเงินทุน
                          ที�เพียงพอและเกิดความมั�นคงทางด้านการเงิน


                          ดังนั�นบริษัทจึงกําหนดกรอบการบริหารความเสี�ยงด้านการประกันภัยต่อโดยพิจารณาจากเงินทุนของ

                          บริษัท และอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนขั�นตํ�าที�สามารถจะยอมรับได้ภายใต้กฎเกณฑ์การ
                          ดํารงเงินกองทุนตามความเสี�ยงควบคู่กับความเสี�ยงในการรับประกันภัยทั�งทางด้านภัยพิบัติที�เกิดจาก
                          ธรรมชาติและความเสี�ยงจากภัยอื�นๆ จากปัจจัยต่างๆ เหล่านี�การรับประกันภัยไว้เองและการทําโปรแกรม
                          ประกันภัยต่อจะถูกนํามาพิจารณาและจัดทําเพื�อเป็นขั�นตอนในการพิจารณานโยบายรับประกันภัยต่อไป



























     70  |  รายงานประจำาปี 2566  |  ANNUAL REPORT 2023                                                 39
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75