Page 10 - ABB in brief 04|2021
P. 10

10                ABB in brief
















































                               ล่าสุด มีการน�าเสนอ ครม. ในการขอสร้างโรงไฟฟ้า  จะส่งผลกระทบต่อการใช้ไฟฟ้าของภาคเหนือ โดยทาง กฟผ.
                            ถ่านหินใหม่ในหน่วยที่ 8-9 เพื่อทดแทนโรงไฟฟ้าเก่าที่   ได้เตรียมแผนรับมือด้วยการน�าโครงการโซลาร์เซลล์ลอยน�้า
                            หมดอายุ โดยโรงไฟฟ้าเก่าหน่วยที่ 8 จะหมดอายุในปี 2565   แบบไฮบริด (Hydro-Floating Solar Hybrid) ที่เขื่อนสิรินธร
                            และโรงไฟฟ้าเก่าในหน่วยที่ 9 จะหมดอายุในปี 2568    เข้ามาช่วยเสริมก�าลังการผลิตไฟฟ้า
                            ที่ส�าคัญครั้งนี้จะเป็นการขอสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินครั้งสุดท้าย
                            ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.) และเพื่อยังคงให้ไฟฟ้าใน   งานนี้ต้องจับตาต่อไปว่า หากโรงไฟฟ้าถ่านหินที่อ�าเภอ
                            ภาคเหนือเพียงพอต่อความต้องการ จึงมีการสร้างโรงไฟฟ้า  แม่เมาะยุติลง 100% ก�าลังการผลิตไฟฟ้าของภาคเหนือจะ
                            พลังความร้อน โดยจะผลิตไฟฟ้าเข้าสู่ระบบได้ในปี 2562   เปลี่ยนแปลงไปเช่นไร ซึ่งหากวิเคราะห์จากโครงสร้างพื้นฐาน
                                                                         สภาพภูมิประเทศ คงต้องบอกให้สบายใจได้ว่า แทบอาจจะ
                               หากเป็นไปตามแผน โรงไฟฟ้าแม่เมาะจะค่อยๆ ทยอย  ไม่มีผลกระทบ เนื่องจากกระแสไฟฟ้าจากภาคกลางสามารถ
                            ยุติโรงไฟฟ้าถ่านหิน และเมื่อถึงปี 2569 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ   ส่งขึ้นไปช่วยเสริมความต้องการใช้ไฟฟ้า หากมีก�าลังการผลิต
                            จะเหลือโรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินในกระบวนการผลิตเพียง 2 โรง   ไฟฟ้าไม่เพียงพอต่อความต้องการ
                            เท่านั้น ซึ่งส่วนหนึ่งนั้นต้องยอมรับว่าเกิดจากความไม่ต้องการ
                            โรงไฟฟ้าถ่านหิน และมีการเรียกร้องให้ยุติการใช้ถ่านหิน   ซึ่งแตกต่างจากภาคใต้ ที่ก�าลังการผลิตไฟฟ้ายังไม่
                            ในการผลิตไฟฟ้าเพื่อลดผลกระทบด้านสุขภาพ อีกทั้งภาครัฐ  เพียงพอต่อความต้องการใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม
                            มีนโยบายในการพึ่งพาพลังงานหมุนเวียนตามแผนพลังงาน  การท่องเที่ยว ซึ่งทั้งขนาดและศักยภาพของโรงไฟฟ้าถ่านหิน
                            แห่งชาติ (National Energy Plan) ที่ให้ความส�าคัญกับ   ของภาคเหนือและภาคใต้ยังมีความแตกต่างกัน ต้องรอดู
                            การก�าหนดเป้าหมายในการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก   ต่อไปว่าหากยุติโรงไฟฟ้าถ่านหินแล้ว แหล่งพลังงานที่ผลิต
                            และก๊าซคาร์บอน                               ได้จะกลายเป็นแหล่งพลังงานหลักของโรงไฟฟ้าทั้งภาคเหนือ
                                                                         ซึ่งจะมีผลต่อต้นทุนราคาค่าไฟที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
                               ส�าหรับปัจจุบันโรงไฟฟ้าแม่เมาะมีก�าลังการผลิตเกิน  อีกด้วย
                            ความต้องการเล็กน้อย โดยกระแสไฟฟ้าส่วนใหญ่กระจาย
                            ไปยังภาคเหนือ ขณะที่ไฟฟ้าส่วนเกินจะส่งไปที่ภาคกลางและ
                            ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ ซึ่งบางคนอาจเกรงว่าหากก�าลัง
                            การผลิตไฟฟ้าของแม่เมาะลดลงจากการยุติโรงไฟฟ้าถ่านหิน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15