Page 117 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2564 : Thailand Engineering Journal
P. 117
จรรยาบรรณวิศวกร
หมวดที่ ๔ ว่าด้วย ความซื่อสัตย์ต่อวิชาชีพ
ข้อ ๖. วิศวกรต้องใช้ความรู้ และความชํานาญในงานวิชาชีพอย่างซื่อสัตย์ เป็นธรรม รักษาผลประโยชน์ต่อผู้ว่าจ้าง และผู้เกี่ยวข้อง ดังนี้:
หมวดที่ ๑ ว่าด้วย วิชาการ และวิชาชีพ (๑) ต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างซื่อสัตย์สุจริตในฐานะที่ตนเป็นตัวแทน หรือได้รับการว่าจ้างจากเจ้าของงาน
(๒) เปิดเผยตนเองต่อเจ้าของงาน และผู้เกี่ยวข้องก่อนรับดําเนินการ เพื่อความโปร่งใส
ข้อ ๓. วิศวกรอาชีพ พึงยึดหลักปฏิบัติในวิชาชีพดังต่อไปนี้:
(๓) ปฏิบัติหน้าที่โดยชอบธรรม ไม่ใช้อํานาจหน้าที่โดยมิชอบ ไม่แอบแฝงด้วยอิทธิพลหรือผลประโยชน์ใดๆ
(๑.) ปฏิบัติงานที่ได้รับทํา อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและหลักปฏิบัติของวิชาชีพโดยเคร่งครัด (๔) ไม่เรียก หรือรับผลประโยชน์อื่นใด นอกเหนือจากค่างานตามวิชาชีพ ที่ถูกต้องตามกฎหมาย
(๒) เพิ่มพูนวิสัยทัศน์ รวมทั้งพัฒนาตนเองในด้านความรู้ ความสามารถ ในวิชาชีพวิศวกรรม (๕) ไม่ปิดบังหรือซ่อนเร้นผลประโยชน์ต่อเจ้าของงาน หรือผู้เกี่ยวข้อง ซึ่งตนมีส่วนได้ส่วนเสีย หรือมีผลกระทบต่อธุรกิจของ
(๓) ส่งเสริม เผยแพร่ความรู้และประสบการณ์ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เจ้าของงาน หรือผู้เกี่ยวข้อง หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์
(๔) ส่งเสริมเผยแพร่และพัฒนาความรู้ในวิชาชีพวิศวกรรมให้แก่หมู่วิศวกร ทั้งนิสิต นักศึกษา (๖) ไม่รับทํางาน เดียวกันกับที่ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอื่นทําอยู่ เว้นแต่เป็นการทํางานหรือตรวจสอบตามหน้าที่ หรือแจ้ง
(๕) สนับสนุนส่งเสริมให้มีการศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ให้ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอื่นนั้น ทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว
(๖) ให้การยอมรับสนับสนุน และให้เกียรติยกย่อง ในวิชาชีพวิศวกรรม และวิศวกรด้วยกัน (๗) ไม่รับทํางานเดียวกันให้แก่ผู้ว่าจ้างรายอื่น เว้นแต่ได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายแรกทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับความ
(๗) พึงปฏิบัติงานเฉพาะที่ตนมีความรู้ ความสามารถ เท่านั้น ยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้ว่าจ้างรายแรกกับได้แจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้ว่าจ้างรายอื่นนั้นทราบล่วงหน้าแล้ว
(๘) ให้ข้อมูล และแสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาการตามที่ตนทราบอย่างถ่องแท้แก่สาธารณชนด้วยความสัตย์จริง
(๙) คํานึงถึงผลกระทบต่อผู้เกี่ยวข้อง สังคม และสิ่งแวดล้อม หมวดที่ ๕ ว่าด้วย ชื่อเสียง และผลงาน
หมวดที่ ๒ ว่าด้วย คุณธรรม และจริยธรรม ข้อ ๗. วิศวกรต้องสร้างชื่อเสียงในวิชาชีพจากผลงาน โดยปฏิบัติตามจริยธรรม และจรรยาบรรณ โดยคํานึงถึงชื่อเสียง และวิชาชีพ
(๑) ไม่แอบอ้าง ไม่คัดลอก หรือไม่ดัดแปลงผลงานไม่ว่าทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของวิศวกรผู้อื่นมาเป็นของตนโดยไม่ได้รับอนุญาต
ข้อ ๔. การประกอบวิชาชีพของวิศวกรมีผลกระทบต่อสังคม เพื่อให้เกิดการพัฒนาร่วมกันในสังคมให้ทุกคนอยู่อย่างมีความสุขได้ลดความ
มีอคติซึ่งกัน และกัน วิศวกรจึงต้องมีแนวปฏิบัติทางด้านคุณธรรม และจริยธรรมต่อไปนี้: (๒) เปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติ ประสบการณ์ ผลงาน และตําแหน่งหน้าที่ของตนเอง
(๓) แข่งขันเพื่อให้ได้งานอย่างยุติธรรม
(๑) มีความขยันหมั่นเพียร อดทน เที่ยงธรรม ไม่ลําเอียง ปราศจากอคติ และตรงต่อเวลา (๔) ไม่เสนอหรือรับสิ่งตอบแทนใดๆ ที่ขัดต่อหลักกฎหมาย
(๒) ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ไม่ใช้วิชาชีพในทางที่ผิด (๕) มีความศรัทธา รักษาศักดิ์ศรี และสิทธิในวิชาชีพ เพื่อชื่อเสียง และผลงานวิศวกรรมที่ดี
(๓) ไม่ใช้อํานาจหน้าที่โดยมิชอบธรรม หรือใช้อิทธิพลเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง (๖) ไม่โฆษณาหรือยอมให้ผู้อื่นโฆษณาเกินขอบเขตและเกินความเป็นจริงในความรู้ความสามารถของตน
(๔) ไม่พัวพันเกี่ยวข้องกับธุรกิจหรือประกอบการใด ๆ ซึ่งเป็นที่ควรรู้ว่าเป็นการหลอกลวง หรือมิชอบด้วยกฎหมาย (๗) หลีกเลี่ยงการกระทําใดๆ ที่จะนําความเสื่อมเสียมาสู่เกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
(๕) พึงให้ความเห็นงานทางด้านวิศวกรรมของผู้อื่นด้วยความสร้างสรรค์ และมีมารยาท เพื่อประโยชน์ของสังคม
(๖) พึงเสียสละให้การอุปถัมภ์คํ้าจุน เกื้อกูล และแลกเปลี่ยนความคิดประสบการณ์ ช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน หมวดที่ ๖ ว่าด้วย จรรยาบรรณของกรรมการ และอนุกรรมการ
(๗) มีความละอายในการกระทําสิ่งที่ไม่ถูกต้อง สํารวจ และปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ
(๘) รักษาสัจจะโดยไม่ขัดกับกฎหมาย และศีลธรรม ข้อ ๘. กรรมการและอนุกรรมการเป็นบุคคลที่มีหน้าที่และผลกระทบต่อสมาคม สมาชิก และสังคมโดยตรง สมควรมีจรรยาบรรณสําหรับ
กรรมการและอนุกรรมการ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี ดังต่อไปนี้
หมวดที่ ๓ ว่าด้วย ความรับผิดชอบ (๑) ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ของ วสท. โดยเคร่งครัด
(๒) ปฏิบัติตามจรรยาบรรณของ วสท. โดยเคร่งครัดเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสมาชิก วิศวกร และสังคม
ข้อ ๕. วิศวกรต้องรับผิดชอบ ในงานที่ได้รับมอบหมาย และให้ความสําคัญเป็นอันดับแรกทั้งต่อ สวัสดิภาพ ความปลอดภัย สุขอนามัย
อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมของผู้เกี่ยวข้องตลอดจนสาธารณชน (๓) รักษา และสร้างชื่อเสียงเกียรติคุณของ วสท. ให้เป็นที่ยอมรับยกย่องโดยทั่วไป
(๔) ดําเนินการอย่างเต็มความสามารถให้เป็นไปตามที่ได้แถลงไว้ในการเสนอตัวเข้ารับเลือกตั้งหรือ รับแต่งตั้ง ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(๑) ต้องรับผิดชอบลักษณะงานทางด้านวิศวกรรมทุกรูปแบบ (๕) มีวินัยในการเข้าประชุมอย่างสมํ่าเสมอ
(๒) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ และคํานึงถึงผลกระทบ ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม (๖) เคารพและปฏิบัติตามมติของที่ประชุม
(๓) วิศวกรผู้ออกแบบ และวิศวกรผู้ควบคุมงาน จะต้องรับผิดชอบผลงานของตนเองที่ได้ดําเนินการไว้ (๗) ใช้วาจาท่าทีที่สุภาพ มีมารยาทให้เกียรติ และเคารพสิทธิ์ต่อผู้อื่น
(๔) ไม่ละทิ้งงานหรือหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบโดยไม่มีเหตุอันควร (๘) สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
(๕) ไม่ลงลายมือชื่อเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในงานวิศวกรรมที่ตนเองไม่ได้ตรวจสอบหรือปฏิบัติงานจริง (๙) ต้องไม่ใช้อํานาจหรืออิทธิพลใด ๆ ต่อการตัดสินใจ การจํากัดการตัดสินใจ หรือจํากัดการดําเนินการใด ๆ ของกรรมการ
(๖) รักษาความลับต่องานที่ได้รับทํา เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของงาน อนุกรรมการ และสมาชิก โดยไม่ชอบธรรม
53 54
116 วิศวกรรมสาร ปีที่ 72 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 117 วิศวกรรมสาร ปีที่ 72 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562
วิิศวิกรรมสาร ปีีที่่� 74 ฉบัับัที่่� 2 เมษายน-มิถุุนายน 2564 วิิศวิกรรมสาร ปีีที่่� 74 ฉบัับัที่่� 2 เมษายน-มิถุุนายน 2564