Page 17 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 17
เมื่อพูดถึงคุณค่าหลักของธนาคารออมสิน จะนึกถึงบทบาทที่ชัดเจนในการส่งเสริมการออม
และสร้างวินัยทางการเงินแก่คนไทยมายาวนาน ซึ่งตามทฤษฎีแล้วสังคมที่มีการออมเข้มแข็ง ย่อมเป็นรากฐาน
ของระบบเศรษฐกิจที่มั่นคงมีเสถียรภาพ ด้วยความเชื่อมโยงนี้จึงสามารถกล่าวได้ว่า ธนาคารได้ทำาภารกิจ
ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการดำาเนินงานทางธุรกิจ (CSR in Process)
มาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา
แต่ด้วยการส่งเสริมการออมเท่านั้นอาจไม่เพียงพอ ในปี 2563 ที่ผ่านมา ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ในขณะที่สภาพสังคมไทยยังมีความเหลื่อมลำ้า คนส่วนใหญ่ ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่ทำาให้ประชาชนได้รับ
เป็นผู้มีรายได้น้อย และขาดโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่ ความเดือดร้อนจากผลกระทบของการแพร่ระบาด และ
มีต้นทุนเหมาะสมฐานะและรายได้ ธนาคารออมสินจึงปรับ จากมาตรการการควบคุมป้องกัน จึงเป็นความท้าทายของ
ตำาแหน่งทางยุทธศาสตร์ครั้งสำาคัญ เพื่อผลักดันให้ธนาคาร ธนาคารที่ต้องบริหารจัดการดำาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
เป็น “ธนาคารเพื่อสังคม” หรือ Social Bank อย่างแท้จริง ขณะเดียวกันสามารถส่งต่อความช่วยเหลือเพื่อบรรเทา
และในมิติที่กว้างขวางกว่าเดิม นั่นคือ การมีบทบาทสำาคัญ ความเดือดร้อนของประชาชน โดยเฉพาะที่เป็นรายย่อย
ที่จะช่วยแก้ปัญหาความยากจน และลดความเหลื่อมลำ้า และผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าหลัก
ทางการเงินของคนในสังคม มุ่งเน้นการช่วยเหลือประชาชน ของธนาคาร โดยการออกมาตรการช่วยเหลือใน 2 มิติ คือ
ผู้มีรายได้น้อย หรือกลุ่มคนฐานราก ตลอดจนผู้ประกอบการ มิติของการช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย เช่น มาตรการพักชำาระ
รายย่อย ให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินด้วยต้นทุนที่เหมาะสม หนี้ และมิติของการเพิ่มสภาพคล่อง ด้วยมาตรการสินเชื่อ
และเป็นธรรม รวมถึงสนับสนุนภาครัฐในภารกิจการดูแล เงื่อนไขผ่อนปรน นอกจากนี้ ธนาคารได้จัดโครงการใหญ่
สังคม ควบคู่ไปกับการดำาเนินธุรกิจเชิงพาณิชย์เช่นเดียว ภายใต้แนวคิด “ออมสินเพื่อสมุย” เพื่อเป็นโมเดลต้นแบบใน
กับธนาคารทั่วไป จนเกิดผลเชิงบวกขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม การให้ความช่วยเหลือทุกมิติ แก่พื้นที่เศรษฐกิจที่พึ่งพาการ
(Making the Positive Impact on Society) โดยในด้าน ท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นการช่วยแก้ไขหนี้ การเสริมสภาพ
การดำาเนินธุรกิจนั้น ธนาคารได้ปรับทิศทางการออกแบบ คล่องเพิ่มเม็ดเงินหมุนเวียนลงพื้นที่กว่า 1,500 ล้านบาท
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเน้นช่วยเหลือ การมอบความช่วยเหลือเฉพาะหน้า เช่น การมอบเครื่อง
คนฐานรากเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก จึงอาจถือได้ว่า ธนาคาร อุปโภคบริโภค ทุนการศึกษา รวมถึงการสนับสนุนเครื่องมือ
ออมสินดำาเนินธุรกิจโดยมีภารกิจความรับผิดชอบต่อสังคม ทำากินและโครงการตามวิถีพอเพียง เพื่อให้ชุมชนสามารถ
(CSR) เป็นแกนการดำาเนินงาน ใช้ประโยชน์ได้ในระยะยาว เป็นต้น
กล่าวคือ ธนาคารได้ยึดหลัก ESG ในการทำา ในอนาคตแม้ว่าสถานการณ์จะคลี่คลาย ปัจจัย
ภารกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ธนาคารเพื่อสังคม โดยคำานึง แวดล้อมทางธุรกิจอาจเปลี่ยนแปลงไป แต่จุดยืนของ
ถึงสิ่งแวดล้อม (Environment) สังคม (Social) และการ ธนาคารออมสินยังคงอยู่ ด้วยปรัชญาการดำาเนินธุรกิจ
กำากับดูแลทางเศรษฐกิจและธุรกิจ หรือธรรมาภิบาล ภายใต้ยุทธศาสตร์ “ธนาคารเพื่อสังคม” ยุคใหม่นี้ ผม
(Governance) ตลอดทั้งกระบวนการ โดยธนาคารได้ มีความมุ่งมั่นและเชื่อมั่นอย่างแรงกล้า ว่าธนาคารจะ
ลงนามรับใน “หลักการธนาคารที่มีความรับผิดชอบ” สามารถยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของคนฐานรากให้ดีขึ้น
ของสำานักงานโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ เกิดผลลัพธ์เชิงบวกต่อสังคมได้อย่างเป็นรูปธรรม.
ว่าด้วยข้อริเริ่มทางการเงิน หรือ UNEP Finance
Initiative : UNEP FI ซึ่งถือเป็นธนาคารของรัฐแห่งแรก
ของประเทศไทยที่เข้าร่วมสนับสนุนหลักการดังกล่าว
เพื่อยกระดับการดำาเนินการเพื่อสังคม สิ่งแวดล้อม และ
ธรรมาภิบาลของธนาคารให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล (นายวิทัย รัตนากร)
ผู้อำานวยการธนาคารออมสิน
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำาปี 2563 19