Page 4 - RMUTR135
P. 4
Rajamangala University
THE HISTORY OF
OF TECHNOLOGY RATTANAKOSIN
2518 2531
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เกิดจากการเรียกร้องการศึกษาของ
นักเรียนอาชีวศึกษาในสมัยย้อนไปเมื่อ 40 ปีก่อน ซึ่งถูกสังคมมองว่าเป็น ต่อมา วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา เปลี่ยนชื่อจากวิทยาลัยมาเป็น
นักเรียนชั้นสองของสังคม จัดการศึกษาได้เพียงแค่ระดับ ปวส. และการ วิทยาเขต ตามลำาดับ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาได้พัฒนาระบบ
ก้าวสู่ระดับปริญญาตรีนั้น จะต้องผ่านการสอบแข่งขันกับนักเรียนสาย การเรียนการสอนให้ได้มาตรฐานการศึกษาที่มีคุณภาพและศักยภาพ
สามัญ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 วิทยาลัยเทคโนโลยีและ มีความพร้อมในหลาย ๆ ด้าน จนกระทั่งในปี 2531 พระบาทสมเด็จ
อาชีวศึกษา จึงได้ถือกำาเนิดขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติวิทยาลัยเทคโนโลยี พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
และอาชีวศึกษา พ.ศ. 2518 ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบังคับ ชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งหมายความว่า สถาบันเทคโนโลยี
ใช้เป็นต้นมาโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรี อันเป็นมิ่งมงคลแห่งพระราชา ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2531 สถาบัน
ให้การศึกษาทางด้านอาชีพทั้งระดับต่ำากว่าปริญญาตรี ระดับปริญญาตรี เทคโนโลยีราชมงคล มีภารกิจหลักคือ จัดการศึกษา (ระดับต่ำากว่า
และประกาศนียบัตรชั้นสูง ทำาการวิจัยส่งเสริมการศึกษาทางด้านวิชาชีพ ปริญญาตรี ระดับปริญญาตรีและระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต) ทำาการ
และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิจัยสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทำานุบำารุง
2542 ศาสนาศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
2548
2
สืบเนื่องจากแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่มุ่งเน้นการกระจายอำานาจ การบริหารจัดการ การก้าวสู่มหาวิทยาลัยจากพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
สู่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาของรัฐดำาเนินการ พ.ศ. 2548 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่
โดยอิสระ และมีความคล่องตัวในการบริหารจัดการภายใต้การกำากับดูแล 8 มกราคม 2548 และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มกราคม
ของสภาสถานศึกษา ดังนั้น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลจึงได้ปรับปรุง 2548 พระราชบัญญัติดังกล่าว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 19 มกราคม 2548
แก้ไขพระราชบัญญัติฉบับเดิมและยกร่างเป็นพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย มีผลให้สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยี
เทคโนโลยีราชมงคล โดยมีการรวมวิทยาเขต จัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัย ราชมงคล พ.ศ. 2518 ปรับเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล
เทคโนโลยีราชมงคล จำานวน 9 แห่ง โดยมีวัตถุประสงค์ให้ 9 มหาวิทยาลัย ทั้งเก้าแห่ง คือ
เป็นมหาวิทยาลัยสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สามารถจัดการศึกษา 1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
วิชาการ และวิชาชีพชั้นสูงที่เน้นการปฏิบัติทั้งในระดับปริญญาตรี โท 2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
และ เอก เพื่อรองรับการศึกษาต่อของผู้สำาเร็จการศึกษาจากสถาบัน 3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
RMUTR 7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อาชีวศึกษาเป็นหลัก รวมถึงให้โอกาสแก่ผู้เรียนจากวิทยาลัยชุมชน
5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
และการศึกษาขั้นพื้นฐานในการศึกษาต่อวิชาชีพระดับปริญญาตรี
6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่งอยู่ภายใต้การกำากับดูแล
ของสำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วย 4 พื้นที่
ได้แก่ 1) พื้นที่ศาลายา 2) พื้นที่บพิตรพิมุข จักรวรรดิ 3) วิทยาลัยเพาะช่าง
4) พื้นที่วังไกลกังวล