Page 15 - รายงานสถานการณ์สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชน ของประเทศไทย ปี พ.ศ.2563
P. 15
รายงานสถานการณ์สถานที่กำาจัดขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2563
รูปที่ 7 สัดส่วนเนื้อที่ของสถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยและสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอย
โดยพบว่าสถานที่ฯ ขนาดเล็ก (≤5 ไร่) มีจ�านวนมากที่สุดถึง 1,630 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 50 ของจ�านวนสถานที่ก�าจัด
ขยะมูลฝอยชุมชนและสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยชุมชนที่รายงาน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยของชุมชน
หรือหมู่บ้าน ซึ่งประชาชนหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น น�าขยะมูลฝอยชุมชนมาก�าจัดแบบเทกอง หรือในบางแห่งจะด�าเนินการ
เผาก�าจัดเพื่อยืดอายุการใช้งานในพื้นที่ดังกล่าว
2.2 สถานที่กำาจัดขยะมูลฝอยชุมชนและสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยชุมชน
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 จนถึงปี พ.ศ. 2563 พบว่า สถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยและสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยทั้งหมด
3,262 แห่ง ยังคงเปิดให้บริการเป็นจ�านวน 2,274 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 70 ของจ�านวนสถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยชุมชนและ
สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยชุมชน ส�าหรับพื้นที่ที่ปิดหรือหยุดด�าเนินการแล้วทั้งสิ้น 988 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 30 ของจ�านวน
สถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยชุมชนทั้งหมด โดยมีรายละเอียดดังแสดงไว้ในตารางที่ 6 - 8
สถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยชุมชนซึ่งด�าเนินการได้อย่างถูกต้อง จ�านวน 355 แห่ง ประกอบด้วยระบบก�าจัดขยะมูลฝอย
ชุมชนแบบถูกต้อง ได้แก่ การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) การก�าจัดขยะมูลฝอยแบบการฝังกลบ
เชิงวิศวกรรม (Engineered Landfill) การฝังกลบแบบกึ่งใช้อากาศ (Semi-aerobic Landfill) การฝังกลบแบบเทกองควบคุม
(Controlled Dump) ขนาดไม่เกิน 50 ตัน/วัน เตาเผาที่มีระบบบ�าบัดมลพิษทางอากาศ เตาเผาเพื่อผลิตพลังงาน (WTE)
การหมักท�าปุ๋ย (Compost) การผลิตเชื้อเพลิงขยะ (RDF) โดยการคัดแยก/ระบบบ�าบัดขยะมูลฝอยแบบเชิงกล – ชีวภาพ
สถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยชุมชนซึ่งด�าเนินการไม่ถูกต้องจ�านวน 1,891 แห่ง ซึ่งประกอบด้วยการเทกอง (Open Dump)
การเผากลางแจ้ง (Open Burn) การใช้เตาเผาขนาดที่ไม่มีระบบบ�าบัดมลพิษอากาศ และการฝังกลบแบบเทกองควบคุม
(Controlled Dump) ขนาดเกิน 50 ตัน/วัน
สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยชุมชน (Transfer Station) จ�านวน 28 แห่ง
กองจัดการกากของเสียและสารอันตราย 13
สำานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 – 16 สำานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด 76 จังหวัด