Page 22 - รายงานสถานการณ์สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชน ของประเทศไทย ปี พ.ศ.2563
P. 22

รายงานสถานการณ์สถานที่กำาจัดขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2563













































        หมายเหตุ

              1  สถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยชุมชนที่ด�าเนินการก�าจัดถูกต้อง ได้แก่ การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill)

        การก�าจัดขยะมูลฝอยแบบการฝังกลบเชิงวิศวกรรม (Engineered Landfill) ระบบฝังกลบขยะมูลฝอยแบบกึ่งใช้อากาศ
        (Semi Aerobic Landfill) เตาเผาที่มีระบบบ�าบัดมลพิษอากาศ (Incinerator) เตาเผาเพื่อผลิตพลังงาน (WTE) การหมักท�าปุ๋ย
        (Compost) การผลิตเชื้อเพลิงขยะมูลฝอย (RDF) ด้วยการคัดแยกหรือการบ�าบัดขยะมูลฝอยแบบเชิงกล – ชีวภาพ (MBT) และ

        การฝังกลบแบบเทกองควบคุม (Controlled Dump) ขนาดไม่เกิน 50 ตัน/วัน

              2  สถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยชุมชนที่ด�าเนินการก�าจัดไม่ถูกต้อง ได้แก่ การเทกอง (Open dump)  การเผากลางแจ้ง
        (Open burn) เตาเผาที่ไม่มีระบบบ�าบัดมลพิษอากาศ (Incinerator) และการฝังกลบแบบ

        เทกองควบคุม (Controlled Dump) ขนาดมากกว่า 50 ตัน/วัน

              * เทศบาลนครนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา มีสถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยระบบหมักท�าปุ๋ย (compost) และระบบ

        ฝังกลบขยะมูลฝอยเชิงวิศวกรรม ในพื้นที่เดียวกัน และเทศบาลเมืองสีคิ้ว มีระบบก�าจัดขยะมูลฝอยแบบเชิงกล – ชีวภาพ (MBT)
        และมีระบบฝังกลบขยะมูลฝอยแบบกึ่งใช้อากาศ (Semi Aerobic Landfill) อยู่ในพื้นที่เดียวกัน

              ** เทศบาลต�าบลสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ มีสถานที่ก�าจัดขยะมูลฝอยระบบหมักท�าปุ๋ย (compost) และระบบฝังกลบ

        ขยะมูลฝอยเชิงวิศวกรรม ในพื้นที่เดียวกัน

              *** บริษัท อีสเทิร์น เอ็นเนอร์จี้ พลัส จ�ากัด จังหวัดสมุทรปราการ มีระบบผลิตเชื้อเพลิงขยะมูลฝอย (RDF) ระบบเตาเผา
        เพื่อผลิตพลังงาน (Waste To Energy: WTE) และการฝังกลบแบบเทกองควบคุม (Controlled Dump) ขนาดมากกว่า 50 ตัน/วัน

        อยู่ในพื้นที่เดียวกัน




             20  กองจัดการกากของเสียและสารอันตราย
                 สำานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 – 16 สำานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด 76 จังหวัด
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27