Page 100 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 100

ภาพที่ 68 แผนที่แสดงการกระจายตัวของแหล:งโบราณคดีที่มีคูน้ำคันดินล<อมรอบในภาคอีสาน
                                       โดยจัดแบ:งตามจำนวนของคูน้ำ ตั้งแต: 1 ชั้น ถึงมากกว:า 4 ชั้น
                                             (ที่มา: O’Reilly and Scott, 2015: Fig.4)



                           3.2.1)  พุทธศตวรรษที่ 12 - 16
                           เข<าสู:ยุคประวัติศาสตรGในช:วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 ซึ่งผู<วิจัยกำหนดจากการพบ

                    ศิลาจารึกของพระเจ<ามเหนทรวรมัน ผู<ครองราชยGใน พ.ศ. 1143 – 1158 ได<เกิดชุมชนโบราณขึ้น

                    หลายแห:งในภาคอีสาน โดยแหล:งที่พบจารึกพระเจ<ามเหนทรวรมันมีลักษณะเปdนถ้ำหรือเพิงผา
                    (ถ้ำเปdดทอง จ.บุรีรัมยG, ถ้ำภูหมาไน จ.อุบลราชธานี) ริมฝÑÖงแม:น้ำ (ปากน้ำมูล, ปากโดมน<อย

                    จ.อุบลราชธานี) ภูเขา (ช:องสระแจง จ.สระแก<ว) ใกล<แหล:งเกลือ (ดอนขุมเงิน จ.ร<อยเอ็ด)

                           มีเพียงจารึกวัดศรีเมืองแอม จ.ขอนแก:น ที่พบในเขตเมืองโบราณดงเมืองแอม ซึ่งมีคูน้ำ
                    คันดินรูปร:างไม:สม่ำเสมอ แต:ยังไม:มีรายงานการศึกษาเมืองโบราณแห:งนี้อย:างจริงจัง โบราณวัตถุที่

                    พบซึ่งมีทั้งสิ่งของเครื่องใช<หรือประติมากรรมแบบวัฒนธรรมเขมรและทวารวดีก็เปdนวัตถุที่ราษฎรใน
                    พื้นที่นำมามอบให<กับพิพิธภัณฑGของชุมชน ส:วนโบราณสถานก:อด<วยศิลาแลงก็ถูกรื้อทำลายมากอง

                    รวมกันภายในวัดศรีเมืองแอม จึงไม:อาจทราบได<อย:างแน:ชัดว:าคูน้ำคันดินของเมืองนี้ที่มีขนาดใหญ:โต

                    คือกว<าง 2 กิโลเมตร ยาว 2.4 กิโลเมตร ถูกสร<างขึ้นในช:วงพุทธศตวรรษใด (ภาพที่ 69) แต:น:าสังเกต
                    ว:าเมืองดงเมืองแอมตั้งอยู:ในแนวช:องเขาที่สามารถเดินทางมายังเมืองศรีเทพ จ.เพชรบูรณG ที่ตั้งอยู:

                    ห:างออกมาทางตะวันตกเฉียงใต<ราว 230 กิโลเมตร (ภาพที่ 70) โดยที่เมืองศรีเทพก็ได<พบจารึก
                    อันอาจเกี่ยวข<องกับวัฒนธรรมเขมรช:วงพุทธศตวรรษที่ 12 ด<วย (อุไรศรี วรศะริน, 2531: 39 - 40)






                                                            93
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105