Page 88 - Waste To Wealth : เงินทองจากกองขยะ ถอดบทเรียนการจัดการขยะตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
P. 88

“พอชำวบ้ำนรับรู้ว่ำ ขยะมีมูลค่ำ เวลำจะทิ้งก็ต้องคิด เพรำะที่ทิ้งนั้นสร้ำงรำยได้ แล้ว
        อีกอย่ำง เรำประกำศเลยว่ำ ยินดีรับซื้อขยะในรำคำที่สูงกว่ำรถเร่ที่เข้ำมำรับซื้อขยะใน
        หมู่บ้ำน อย่ำงรถเร่ซื้อ 4 บำท เรำจะรับซื้อ 5 บำท ทีนี้คนก็มำขำยกับเรำหมด เพรำะเรำไม่

        ได้คิดเรื่องก�ำไรหรือธุรกิจ แต่ท�ำเพื่อให้ขยะในชุมชนลดลง  ให้ชำวบ้ำนได้รู้จักที่จะแยกขยะ
        จริงๆ”
            “เพื่อให้ชำวบ้ำนขำยขยะได้รำคำดี เรำจะบอกเขำว่ำ สมุดแต่ละเล่ม ถ้ำดึงปกออกมำ
        แยกขำย จะขำยได้รำคำมำกกว่ำเดิมอีกเท่ำตัว จริงๆ จะไม่บอกก็ได้ รับซื้อถูกๆ มำดึงปก
        ออกเอง เรำก็จะได้ก�ำไรเพิ่ม แต่เรำเลือกที่จะบอก หรือบำงทีน�้ำหนักขยะอยู่ที่ 8-9 ขีด
        เรำก็ปรับให้เป็น 1 กิโลกรัมเลย เพื่อชำวบ้ำนจะได้เงินเพิ่มเป็นแรงกระตุ้นในกำรคัดแยกขยะ
        มำกขึ้น”

            ขยะที่เคยล้นถัง ค่อยๆ ลดปริมาณลงอย่างเหลือเชื่อ ที่ส�าคัญชาวบ้านที่เคยทิ้งขยะ
        แบบไม่สนใจใคร กลับกลายเป็นว่า แทบจะคุ้ยขยะจากถังเพื่อน�ามาขาย รถเทศบาลที่เคย
        เข้ามาเก็บขยะในชุมชนทุกวันก็ลดลงเหลือแค่วันจันทร์กับวันพฤหัสบดี สัปดาห์ละ 2 วัน
        เท่านั้น แถมบางสัปดาห์ยังลดลงเหลือวันเดียวอีกด้วย เมื่อชาวบ้านเริ่มน�าขยะมาขายกัน

        มากขึ้น  พันธุ์วดีและทีมงานจึงคิดว่าถึงเวลาที่ควรจะจัดตั้งธนาคารขยะขึ้นมาให้เป็นรูป
        เป็นร่างเสียที


        86 | Waste to Wealth ... เงินทองจากกองขยะ ถอดบทเรียนการจัดการขยะตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93