Page 42 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 42
ความเป นพิษของน้ำมันดิบและสารเคมีที่ใช ขจัดคราบน้ำมันดิบ (Dispersant) รวมถึง
ผลการตรวจสอบผลกระทบที่เกิดขึ้น ควรมีการจัดทำสรุปผลดำเนินการและข อมูลต าง ๆ
ที่เกี่ยวข องรวมถึงมีการแถลงข าวหรือประชาสัมพันธ ในช วงที่เกิดเหตุเป นระยะ โดย
หน วยงานหลัก ได แก จังหวัดระยอง กรมเจ าท า กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝ ง เป นต น อีกประเด็นคือ การจัดเตรียมงบประมาณในการดำเนินการ
แก ไขป ญหาเหตุการณ ในลักษณะนี้ ซึ่งบางหน วยงานตั้งงบประมาณไว น อยไม เพียงพอ
หรืออาจไม ได ตั้งไว แต เมื่อเกิดเหตุจำเป นต องใช งบประมาณ ซึ่งบางหน วยจำเป นต องใช
ค อนข างมากจึงไม เพียงพอในอนาคตจึงมีความจำเป นต องมีเงินงบประมาณพิเศษหรือ
ตั้งเป นกองทุนฉุกเฉินไว ดำเนินการแก ไขป ญหาเหตุการณ ในลักษณะนี้ เพื่อจะได
ดำเนินการได รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทำให เกิดผลกระทบต อประชาชนและสิ่งแวดล อม
น อยที่สุด รวมทั้งหน วยงานที่เกี่ยวข องในพื้นที่ควรมีการซักซ อมแผนฉุกเฉินกรณีเกิด
เหตุการณ น้ำมันดิบรั่วไหลในทะเลเป นระยะ เนื่องจากในอนาคตมีความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
ได อีก
จากผลการตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดล อม ในภาพรวมหากไม มีการรั่วไหลของ
น้ำมันดิบเพิ่มเติม ผลการตรวจวิเคราะห คุณภาพสิ่งแวดล อมจนถึงวันที่ 8 มีนาคม 2565
คุณภาพน้ำทะเล คุณภาพอากาศ และการปนเป อนทรายบนชายหาด มีค าอยู ในเกณฑ
มาตรฐานที่เกี่ยวข อง รวมทั้งผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเล ค าป โตรเลียม
ไฮโดรคาร บอนทั้งหมด (TPH) ในจุดที่เฝ าระวังลดลงเป นไปตามมาตรฐานคุณภาพ
แหล งน้ำทะเลประเภทที่ 4 แล ว การดำเนินการหลังจากนี้จะประสานการดำเนินการ
กับกรมควบคุมมลพิษ (ส วนกลาง) ในการเก็บตัวอย างน้ำทะเลและตะกอนดินบริเวณ
ชายหาดต อเนื่องไปอีกระยะหนึ่งจนกว าจะมั่นใจว าไม พบการปนเป อนบริเวณ
ชายหาด หรือกลับสู สภาพปกติเหมือนช วงก อนที่จะเกิดเหตุน้ำมันดิบรั่วไหล
{030}