Page 60 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 60

ปัจจัยที่ส่งผลให้ทำงานไม่ได้ตามแผน

       !!!!!!"#!การขาดวัสดุอุปกรณ ที่จำเป นสำหรับการเก็บตัวอย างในสภาพแวดล อมการทำงาน

       โดยเฉพาะในการทำงานในทะเล ทำให บางกลุ มไม ถูกประเมินการรับสัมผัส

       !!!!!!$#!เหตุการณ น้ำมันดิบรั่วไหล ไม ถูกกำหนดไว ใน DCIR (Director's Critical
       Information Requirement) ทำให ไม เกิดการทำงานในรูปแบบ EOC ของกรมควบคุมโรค

       !!!!!!%#!การประสานงานของผู ก อมลพิษที่ล าช า ทั้งในด านข อมูลสารเคมี รูปแบบ

       กระบวนการเก็บกู น้ำมันดิบและจำนวนผู ปฏิบัติงาน ทำให การประเมินการรับสัมผัส
       ไม เป นไปตามแผนที่ตั้งเอาไว

       !!!!!!&#!การขาดผู มีองค ความรู ด านสุขศาสตร อุตสาหกรรม ทำให การเก็บตัวอย าง

       มีเพียงหน วยงานเดียว ไม ครอบคลุมกลุ มรับสัมผัสตามแผนที่ออกแบบ

       ข้อเสนอแนะในการพัฒนา

       !!!!!!"#!ควรมีถอดบทเรียนและจัดทำแนวทางการเฝ าระวังสุขภาพจากเหตุการณ น้ำมันดิบ
       รั่วไหล เพื่อเป นแนวทางให จังหวัดอื่น ๆ ในการเตรียมแผนรองรับ

       !!!!!!$#!กลุ มผู เก็บกู คราบน้ำมันดิบในทะเล อาจเป นกลุ มเสี่ยงสูงที่อาจรับสัมผัสสารเคมี

       จากน้ำมันดิบที่มีความเข มข นสูง และควรได รับการดูแลและเฝ าระวังสุขภาพในการทำงาน
       เป นกลุ มแรกหากเกิดเหตุการณ ลักษณะนี้อีก

       แผนที่จะดำเนินการ

       !!!!!!"#!ทบทวนการเพิ่มเหตุการณ น้ำมันดิบรั่วไหลลงทะเล เป น 1 ในเกณฑ  DCIR

       เนื่องจากเหตุการณ มีผลกระทบวงกว างต อประชาชนด วย

       !!!!!!$#!จัดอบรมการใช เครื่องมืออาชีวสุขศาสตร  เพื่อมุ งเน นการดำเนินงานการเฝ าระวัง
       สิ่งคุกคาม การประเมินความเสี่ยงสุขภาพ






                                       {048}
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65