Page 71 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 71

การยืนยันข อเท็จจริงของการเกิดเหตุการณ  จากหน วยงานที่เกี่ยวข อง เช น สำนักงาน

         ป องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อม

         จังหวัด หรือสำนักงานสิ่งแวดล อมภาคและเทศบาล เป นต น โดยใช แบบรับแจ งเหตุ

         ของหน วยงาน ซึ่งการซักถามข อมูลควรให ครอบคลุมประเด็นที่สำคัญตามแนวทาง
         การรายงานเหตุการณ  ดังนี้

               1.2.1 ประเมินศักยภาพการรองรับป ญหาของพื้นที่ การประเมินศักยภาพของ

         หน วยบริการสาธารณสุขในการตอบสนองต อการเกิดอุบัติภัยจากสารเคมี โดยพิจารณา

         ข อมูลดังนี้
               1) การเตรียมการของทีมเครือข ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลระยองที่จะดำเนินการ

         ในพื้นที่หรือทีมที่ตั้งรับ และการสนับสนุนในหน วยงานของสำนักงานสาธารณสุข

         อำเภอเมือง ในการเฝ าระวังผลกระทบต อสุขภาพของประชาชนที่อยู อาศัยในบริเวณ

         ที่น้ำมันดิบขึ้นฝ  งบริเวณหาดแม รำพึง
               2) การเตรียมอุปกรณ ป องกันอันตรายส วนบุคคล สำหรับบุคลากรสาธารณสุข

         ในการดำเนินงาน โดยประสานให บริษัทผู ก อเป นผู จัดหา และการเตรียมการสำหรับ

         การลดการปนเป  อน Decontamination ในกลุ มผู รับสัมผัส กลุ มผู เก็บกู น้ำมันดิบ

               3) การใช หรือปฏิบัติตามเกณฑ ในการเฝ าระวังผลกระทบต อสุขภาพที่เป นมาตรฐาน
         โดยโรงพยาบาลระยองจัดทำแนวทางการสอบสวนเฝ าระวังผลกระทบต อสุขภาพ

         ผู เก็บกู น้ำมันดิบ

               4) การเตรียมความพร อมในการรักษาที่เฉพาะเจาะจง เช น การเตรียมสำรองยา

         ต านพิษของศูนย รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก โรงพยาบาลระยอง เป นต น
               1.2.2 การจัดการภารกิจ (Situation Awareness Team) บทบาทตามภารกิจ

         หลักเฝ าระวังเหตุการณ  (Event-based Surveillance)



                                       {059}
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76