Page 4 - ทวารวดี ประตูสู่การค้าบนเส้นทางสายไหมทางทะเล
P. 4

ค ำน ำ


                     หนังสือ “ทวำรวดี:  ประตูสู่กำรค้ำบนเส้นทำงสำยไหม
              ทำงทะเล” เล่มนี้ จัดท ำขึ้นเนื่องในโครงกำรผลิตหนังสือ “โบราณคดีใน
              ประเทศไทยและอาเซียน” โดยได้รับกำรสนับสนุนจำกงบประมำณแผ่นดิน

              ประจ ำปี 2558 ภำยใต้โครงกำรเตรียมควำมพร้อมสู่ประชำคมอำเซียน
              ด้วยภำควิชำโบรำณคดีมุ่งหวังจะสร้ำงองค์ควำมรู้ที่แสดงให้เห็นถึงรำกเหง้ำ
              หรือควำมเป็นมำของผู้คนในอำเซียนสมัยโบรำณ ซึ่งผู้เขียนได้เลือกค้นคว้ำ
              ในประเด็นเศรษฐกิจกำรค้ำระหว่ำงประเทศในช่วงสมัยทวำรวดีโดยเชื่อมโยง
              กับเส้นทำงกำรค้ำสำยไหมทำงทะเล (maritime silk road) เนื่องจำกเหตุผล
              หลัก 3 ประกำรคือ

                     1.  ผู้เขียนรับผิดชอบสอนในวิชำโบรำณคดีสมัยประวัติศำสตร์ใน
              ประเทศไทย  ซึ่งเรื่องของโบรำณคดีสมัยทวำรวดีเป็นองค์ควำมรู้หลักที่
              นักศึกษำต้องท ำควำมเข้ำใจ แต่ภำยหลังจำกงำนค้นคว้ำอันทรงคุณค่ำของ
              ศำสตรำจำรย์ เกียรติคุณ ดร.ผำสุข อินทรำวุธ เรื่อง “ทวำรวดี:  กำรศึกษำ
              เชิงวิเครำะห์จำกหลักฐำนทำงโบรำณคดี” ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2542 แล้ว

              ก็ยังไม่มีหนังสือเล่มใดที่นักศึกษำจะสำมำรถใช้เป็นต ำรำอ้ำงอิงเกี่ยวกับ
              โบรำณคดีสมัยทวำรวดีได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ดังนั้นหนังสือเล่มนี้จึงอำจใช้
              เป็นต ำรำในวิชำดังกล่ำวหรือวิชำที่เกี่ยวข้องได้
                     2.  เมื่อเดือนกันยำยน 2556 มีกำรค้นพบแหล่งเรือจมโบรำณที่
              จังหวัดสมุทรสำคร กำรท ำงำนของส ำนักศิลปำกรที่ 1 รำชบุรี และกลุ่ม
              โบรำณคดีใต้น ้ำ ได้ก่อให้เกิดควำมสนใจในวงกว้ำงเกี่ยวกับแหล่งเรือจม

              ดังกล่ำว (เป็นเรือแบบอำหรับ) และประเด็นกำรค้ำขำยระหว่ำงประเทศ
              ในช่วงสมัยทวำรวดี โดยสำมำรถเชื่อมโยงเข้ำกับแนวคิดของผู้เขียนเองเมื่อ
              ครั้งที่ได้จัดท ำวิทยำนิพนธ์เรื่อง “พัฒนำกำรของเมืองนครปฐมโบรำณใน
              ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19” ในช่วง พ.ศ. 2551–2553





                                          ก
   1   2   3   4   5   6   7   8   9