Page 34 - 30 Potential Technologies จัดทำโดย สมาคมหน่วยเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
P. 34

29                   โครงการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต



                                  ผลิตภัณฑ์โอลิโอเคมีเพื อเพิ มมูลค่า

                                  นํ ามันปาล์มและไบโอดีเซล


                                                       ความโดดเด่นของผลงานวิจัย/เทคโนโลยี

                                                        การพัฒนาสารเร่งปฏิกิริยาและกระบวนการผลิต
                                                        สารไบโอพาราฟ นจากนํ ามันไบโอดีเซลและนํ ามันปาล์ม
                                                        ด้วยปฎิกิริยาไฮโดรจีเนชัน เพื อให้ได้องค์ประกอบของ

                                                        พาราฟ นที สามารถนําไปใช้ในการทําสารเปลี ยนสถานะ
                                                        ที ใช้งานในสภาวะของอุณหภูมิที เหมาะสม และอาจ

                                                        ปรับปรุงกระบวนการผลิตเป นนํ ามันเชื อเพลิงชีวภาพ
                                                        กรีนดีเซล (Bio Hydrogenated Diesel: BHD) หรือ
                                                        นํ ามันเชื อเพลิงอากาศยานชีวภาพ (Biojet Fuel)

                                                        เป นผลิตภัณฑ์ทางเลือกในอุตสาหกรรมโอลิโอเคมีได้

                 "ยกระดับอุตสาหกรรม
                ปาล์มนํ ามันให้เกษตรกร"

             เป าหมายหลัก: มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านโอลิโอเคมีที มีมูลค่าสูง สามารถใช้เป นเคมี

             หรือวัสดุชีวภาพที สามารถต่อยอดในด้านอุตสาหกรรมอื นๆ เช่น ก่อสร้าง อาหารและยา  หรือ
             แม้แต่เป นเชื อเพลิงอากาศยานได้ เป นต้น

             สอดคล้องกับ SDG Goal: อาชีพและการเติบโตทางเศรษฐกิจที ดี, อุตสาหกรรม นวัตกรรมและ

             โครงสร้างพื นฐาน, การปฏิบัติการเกี ยวกับสภาพภูมิอากาศ

             สาขาเทคโนโลยี: Nanotechnology

             ระดับความใหม่ของเทคโนโลยี : เคยมีมาก่อนแล้วในโลกนี  แต่ผลงานวิจัย/เทคโนโลยีที พัฒนาขึ น

             มีคุณภาพดี/สูงกว่า

             Final Product: ใช้เป นวัตถุดิบในการทําสารเปลี ยนสถานะ (Phase Change Material)
             จากนํ ามันปาล์ม สามารถใช้เป นวัดุชีวภาพสําหรับควบคุมอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์หลักอื นๆ

             ที มีความต้องการ


             ผู้ใช้งาน/อุตสาหกรรมเป าหมาย
                  กลุ่มอุตสาหกรรมเกษตร/อาหาร

                  กลุ่มอุตสาหกรรมยา
                  กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตพลังงาน
                    ทางเลือก
                                                           ข้อมูลนักวิจัย
                                                           คุณลลิตา อัตนโถ
                           IP Protection                   สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ

                                                           เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)



                                                           Email: lalita@tistr.or.th
   29   30   31   32   33   34   35   36