Page 23 - ICP Internal Carbon Pricing
P. 23
21
Internal Carbon Pricing
2.2 รูปแบบการก�าหนด
ราคาคาร์บอนภายในองค์กร
ปัจจุบันกำรก�ำหนดรำคำคำร์บอนภำยในองค์กรไม่ได้เป็นกำรด�ำเนินงำนในภำคบังคับ
หรือยังไม่มีหลักเกณฑ์ หรือมำตรฐำนในกำรก�ำหนดวิธีกำรด�ำเนินงำนที่ตำยตัว ทั้งนี้ องค์กร
ต่ำงๆ สำมำรถศึกษำ วิเครำะห์ และออกแบบวิธีกำร ก�ำหนดรำคำคำร์บอนที่เหมำะสมกับ
บริบทขององค์กรตนเองได้ อย่ำงไรก็ตำม วิธีกำร ICP ที่นิยมใช้กันในองค์กร โดยทั่วไป มี 4
วิธี ได้แก่ 6
การค�านวณย้อนกลับ
(Implicit carbon price)
คือ การก�าหนดราคาจากงบลงทุนที่องค์กรใช้ใน
โครงการหรือกิจกรรม การลดการปล่อยก๊าซเรือน
กระจก เช่น งบประมาณที่ใช้ในการท�ากิจกรรม CSR
เงินที่ใช้ในการลงทุนในโครงการลดก๊าซเรือนกระจก
เช่น โครงการพลังงานหมุนเวียน หรือโครงการ
ปลูกป่า
ราคาเงา (Shadow Price)
เป็นการก�าหนดราคาคาร์บอนจากการตั้ง
สมมุติฐาน ให้เป็น “ราคาเงา” ในการประเมินการ
ลงทุนและกิจกรรมต่างๆ ช่วยให้องค์กรเข้าใจ
บริบท สถานการณ์ และต้นทุนการด�าเนินงาน
ที่แท้จริงของธุรกิจมากยิ่งขึ้น รวมถึงสามารถตอบ
รับและปรับตัวต่อความเสี่ยงด้านการเปลี่ยนแปลง
การเก็บค่าธรรมเนียมการปล่อย สภาพภูมิอากาศได้อย่างเหมาะสม
ก๊าซเรือนกระจกภายในองค์กร
(Internal Carbon Fee)
เป็นการก�าหนดราคาจากการน�าแนวคิดของราคา
คาร์บอนภายนอก เช่น ภาษีคาร์บอน (Carbon
Tax) ไปใช้ภายในองค์กรเพียงแต่เป็นการเก็บค่า
ธรรมเนียมคาร์บอนเพื่อใช้ภายในองค์กรเท่านั้น
ระบบซื้อขายสิทธิในการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกภายในองค์กร
(Internal trading system)
การน�าราคาคาร์บอนไปใช้ภายในองค์กรลักษณะ
เดียวกับระบบซื้อขายสิทธิการปล่อยก๊าซเรือน
กระจก (Emissions Trading System: ETS หรือ
Cap-and-Trade) เพียงแต่เป็นการก�าหนดสิทธิ
ในการซื้อขายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อใช้
6 อ้ำงอิงจำก คู่มือกำรก�ำหนดรำคำคำร์บอนภำยในองค์กร ของ TGO ปี 2564 ภายในองค์กรเท่านั้น