Page 4 - ICP Internal Carbon Pricing
P. 4

ค�าน�า








                        การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เป็นควำมเสี่ยงที่ส�ำคัญต่อกำร

                 พัฒนำที่ยั่งยืนของทุกประเทศทั่วโลกและมีผลกระทบต่อกำรด�ำเนินงำนขององค์กรธุรกิจต่ำงๆ
                 เป็นอย่ำงมำกไม่ว่ำจะเป็นควำมเสี่ยงในเชิงกำยภำพ (Physical Risks) ที่เกิดจำกภัยพิบัติต่ำงๆ

                 และควำมเสี่ยงที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็วในเชิงนโยบำยหลักเกณฑ์  รวมถึง
                 เทคโนโลยี (Transition Risks) ซึ่งควำมเสี่ยงทั้งสองประเภทจะสร้ำงควำมเสียหำยและมีผล

                 กระทบโดยตรงต่อรูปแบบกำรด�ำเนินธุรกิจและสถำนะทำงกำรเงินขององค์กร



                        การก�าหนดราคาคาร์บอนภายในองค์กร หรือ Internal Carbon Pricing (ICP) เป็น

                 หนึ่งในเครื่องมือทำงเศรษฐศำสตร์ที่จะช่วยในกำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง  เตรียมควำมพร้อม

                 รับมือกับผลกระทบต่ำงๆ และกำรสร้ำงโอกำสกำรลงทุนในธุรกิจใหม่เพื่อเสริมสร้ำงควำม
                 แข็งแกร่งให้แก่ภำคธุรกิจ ซึ่ง ICP ได้รับกำรยอมรับและมีกำรน�ำไปประยุกต์ใช้แล้วในองค์กรชั้น

                 น�ำต่ำงๆ ทั่วโลกและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง ทั้งในภำคธุรกิจ อุตสำหกรรม และภำค

                 บริกำร นอกจำกนี้ ยังพบว่ำจำกกระแสกำรเพิ่มควำมมุ่งมั่นในกำรลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก
                 ของประเทศและองค์กรต่ำงๆ ทั่วโลกและกำรประกำศเป้ำหมำยกำรลดกำรปล่อยก๊ำซเรือน

                 กระจกเพื่อมุ่งสู่กำรเป็น “Net Zero” หรือ “Carbon Neutrality” เป็นอีกหนึ่งแรงขับเคลื่อน
                 หลักที่ท�ำให้ประเทศและองค์กรต่ำงๆ ต้องเร่งหำมำตรกำร เทคโนโลยี เครื่องมือ กลไก และวิธี

                 กำรต่ำงๆ ที่จะน�ำมำบริหำรจัดกำรก๊ำซเรือนกระจกได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และช่วยวำงแผนใน

                 กำรปรับเปลี่ยนกระบวนกำรไปสู่ธุรกิจคำร์บอนต�่ำ



                        อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เป็นอุตสำหกรรมแปรรูปผลผลิตทำงกำรเกษตร เพื่อ
                 กำรบริโภคภำยในประเทศและส่งออก อุตสำหกรรมอำหำรและเครื่องดื่ม เป็นสำขำอุตสำหกรรม

                 ที่มีปริมำณกำรใช้พลังงำนสุดท้ำยสูงเป็นอันดับ 1 เมื่อเปรียบเทียบกับอุตสำหกรรมอื่น และมีผู้

                 ประกอบกำรที่จดทะเบียนกับกรมโรงงำนมำกที่สุดเช่นกัน แต่ทั้งนี้ ผู้ประกอบกำรในอุตสำหกรรม
                 ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบกำรขนำดเล็ก - กลำง ซึ่งเมื่อพิจำรณำกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกต่อ

                 โรงงำนจะไม่ได้จัดอยู่ในล�ำดับต้นๆ แต่เมื่อมองกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกทั้งสำขำอุตสำหกรรม

                 พบว่ำ อุตสำหกรรมอำหำรและเครื่องดื่มนั้น ติดอับดับ 1 ใน 5 ของอุตสำหกรรมที่ปล่อยก๊ำซ
                 เรือนกระจกสูงสุดของประเทศ  ดังนั้นสำขำอุตสำหกรรมอำหำรและเครื่องดื่มจึงเป็น
   1   2   3   4   5   6   7   8   9