Page 38 - รายงานประจำปี ๒๕๖๔ กระทรวงวัฒนธรรม
P. 38

๒.๔ ส่งเสริมการน�านวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่สนองต่อนโยบาย
            การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑ มาประยุกต์ใช้ เพื่อการอนุรักษ์ ท�านุบ�ารุง
            และบูรณปฏิสังขรณ์แหล่งศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ
              ๒.๕ สนับสนุนการจัดท�าและบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (BIG DATA)
            เพื่อเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านวัฒนธรรมของประเทศ เพื่อน�าไปใช้
            ประโยชน์ในการเรียนรู้ เผยแพร่ รักษาและท�านุบ�ารุงสมบัติของชาติ
              ๒.๖  สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางวัฒนธรรมและการเสริมสร้าง
            ความสัมพันธ์อันดีกับอารยประเทศ เผยแพร่องค์ความรู้ที่ถูกต้องสู่สังคมไทย
            และนานาอารยประเทศ
              ๒.๗ ผลักดันการพัฒนาศูนย์วัฒนธรรมแห่งใหม่เพื่อเป็นศูนย์กลางการแสดง
            การประชุม การถ่ายทอดองค์ความรู้ การน�าเสนอวิชาการและปฏิบัติการ













                                                ต่อยอด

                                                ประการที่ ๓ การต่อยอดวัฒนธรรม ด้วยการน�าคุณค่าของวัฒนธรรม
                                                สร้างสรรค์สินค้าและบริการ (Creative Culture) เพื่อเพิ่มมูลค่า
                                                ทางเศรษฐกิจ สร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการทางวัฒนธรรม
                                                  ๓.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการน�าทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างมูลค่าเพิ่ม
                                                ทางเศรษฐกิจ  ส่งเสริมการน�าวิถีชีวิต  ศิลปวัฒนธรรม  ภูมิปัญญาท้องถิ่น
                                                เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์และบริการด้านวัฒนธรรมพื้นถิ่นให้เป็นวัฒนธรรมสร้างสรรค์
                                                สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
                                                  ๓.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือให้เกิดสถาบันวัฒนธรรมสร้างสรรค์
                                                สร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์และบริการ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
                                                  ๓.๓ สนับสนุนการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม
                                                ที่มีศักยภาพ ๕ F คือ ๑) อาหาร (Food) ๒) ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ (Film)
                                                ๓) การออกแบบและแฟชั่น (Fashion) ๔) มวยไทย (Fighting) และศิลปะ
                                                การป้องกันตัวแบบไทย และ ๕) เทศกาล ประเพณี (Festival) โดยการบูรณาการ
                                                และร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
                                                  ๓.๔  ส่งเสริมให้มีเวทีและพื้นที่เชิงวัฒนธรรม  รวมไปถึงการพัฒนา
                                                แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน
                                                  ๓.๕ สนับสนุนให้เกิดการสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศการร่วมลงทุน
                                                (Eco System) ระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน นักวิจัยพัฒนา นักลงทุน นักการตลาด
                                                และผู้ประกอบการหน้าใหม่
                                                  ๓.๖ ส่งเสริมการน�านวัตกรรม เทคโนโลยีสมัยใหม่ มาใช้เป็นเครื่องมือ
                                                ในการคิดค้นและวิจัย ออกแบบผลงาน ผลิตสินค้าและบริการทางด้านวัฒนธรรม
                                                รวมไปถึงการส่งเสริมการตลาดด้วยเครื่องมือทางการตลาดสมัยใหม่











                                     รายงานประจำาปี ๒๕๖๔   38     กระทรวงวัฒนธรรม
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43