Page 14 - แนวทางการจัดทำผลงานวิชาการเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการในสาขาพยาบาลศาสตร์
P. 14
2. การประเมินผลงานของพยาบาลวิชาชีพเพื่อแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งประเภทวิชาการในสาขา
พยาบาลศาสตร์ ต�าแหน่งพยาบาลวิชาชีพระดับช�านาญการ/ ช�านาญการพิเศษ เป็นไปในแนวทางเดียวกันและมี
ความเป็นธรรม
1.2 ลักษณะงานของสาขาพยาบาลศาสตร์
ส�านักงาน ก.พ. ได้ด�าเนินการจัดท�าบัญชีมาตรฐานก�าหนดต�าแหน่ง และจัดต�าแหน่งข้าราชการ
พลเรือนสามัญของทุกส่วนราชการเข้าประเภทต�าแหน่ง สายงาน และระดับต�าแหน่ง ตามมาตรฐานก�าหนด
ต�าแหน่งขึ้นจ�านวน 4 สายงาน ได้แก่
1) สายงานประเภทบริหาร
2) สายงานประเภทอ�านวยการ
3) สายงานประเภทวิชาการ
4) สายงานประเภททั่วไป
โดยสาขาพยาบาลศาสตร์ได้รับการก�าหนดให้เป็นสายงานประเภทวิชาการ ประกอบด้วยต�าแหน่ง
พยาบาลวิชาชีพ และต�าแหน่งนักวิชาการพยาบาล ในที่นี้ขอกล่าวถึงเฉพาะต�าแหน่งพยาบาลวิชาชีพ
ต�าแหน่งพยาบาลวิชาชีพเป็นต�าแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทวิชาการ กลุ่มอาชีพแพทย์
พยาบาลและสาธารณสุข มีชื่อสายงานพยาบาลวิชาชีพ เป็นสายงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต�าแหน่ง
ลักษณะของผู้ที่ปฏิบัติงานโดยอาศัยความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน (knowledge workers) สายงาน
พยาบาลวิชาชีพ มีชื่อต�าแหน่งในสายงานและระดับต�าแหน่ง ดังนี้
พยาบาลวิชาชีพ ระดับปฏิบัติการ
พยาบาลวิชาชีพ ระดับช�านาญการ
พยาบาลวิชาชีพ ระดับช�านาญการพิเศษ
พยาบาลวิชาชีพ ระดับเชี่ยวชาญ
พยาบาลวิชาชีพ ระดับทรงคุณวุฒิ
การก้าวสู่ต�าแหน่งที่สูงขึ้นของพยาบาลวิชาชีพนั้นต้องปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานก�าหนดต�าแหน่ง
ตามที่ส�านักงาน ก.พ. ก�าหนด ซึ่งได้ระบุหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ
ได้แก่ ด้านการปฏิบัติการ ด้านการวางแผน ด้านการประสานงาน ด้านการบริการ ซึ่งลักษณะงานแต่ละด้าน
ดังกล่าวจะแสดงถึงมิติความยุ่งยาก ซับซ้อน และการเกิดผลกระทบในการตัดสินใจ ในการแก้ปัญหาทางวิชาการ
และความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ของพยาบาลวิชาชีพในแต่ละระดับต�าแหน่ง (ส�านักงาน ก.พ., 2555)
สรุปรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1-1
แนวทางการจัดท�าผลงานวิชาการเพื่อแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งประเภทวิชาการ ในสาขาพยาบาลศาสตร์
5
ส�าหรับพยาบาลวิชาชีพ ระดับช�านาญการ/ ช�านาญการพิเศษ ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข