Page 42 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 42

3.2 กระทรวงสาธารณสุข
                         1) จัดเตรียมความพรอมสถานพยาบาลทุกระดับในการรับมือกับสาธารณภัย รวมถึงพัฒนาบุคลากร

               สาธารณสุข และอาสาสมัครใหมีความรูและทักษะพรอมที่จะปฏิบัติงานเมื่อเกิดสาธารณภัย และปองกันตนเอง
               จากภัยที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน

                         2) จัดหาและจัดเตรียมสำรองทรัพยากรทางการแพทยและสาธารณสุข รวมถึงการพัฒนาทีม
               ปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทยในภาวะฉุกเฉินในระดับตางๆ ที่พรอมปฏิบัติการชวยเหลือผูประสบภัยอยางมี
               ประสิทธิภาพ โดยสามารถใชประโยชนไดทันทีเมื่อเกิดสาธารณภัยไดแกทีม Mini MERT ระดับอำเภอทีม
               MERT (Medical Emergency Response Team) ระดับจังหวัด ทีมเฝาระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT)

               เปนตน
                         3) จัดใหมีและพัฒนาระบบสื่อสารเพื่อการประสานงานและสั่งการภายในและภายนอกกระทรวง

               สาธารณสุขรวมถึงหนวยงานที่เกี่ยวของและภาคเอกชนไดอยางมีประสิทธิภาพ
                         4) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูเชี่ยวชาญทางการแพทยและสาธารณสุข รวมทั้งเครื่องมือทางการ
               แพทยและเวชภัณฑของภาครัฐและเอกชน

                         5) เปนหนวยงานหลักดานการแพทยและสาธารณสุขที่รับผิดชอบในการตอบสนองตอสาธารณภัย
               โดยประสานและจัดการใหมีผูบัญชาการเหตุการณดานการแพทยและสาธารณสุข (Public Health & Medical
               Incidence Commander) รวมทั้งจัดใหมีศูนยปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุขในระดับตางๆ

               (Public Health Emergency Operation Center: PHEOC)
                         6) ประสานและสั่งการหนวยงานสังกัด และหนวยงานในกำกับของกระทรวงสาธารณสุข ไดแก
               สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ (สพฉ.) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) องคการเภสัชกรรม

               (GPO) เปนตน พรอมทั้งประสานความรวมมือหนวยงานเครือขายภาคสวนตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เชน
               โรงพยาบาลในสังกัดมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงกลาโหม โรงพยาบาลในสังกัด

               กระทรวงมหาดไทย โรงพยาบาลเอกชนมูลนิธิฯ และกลุมอาสาสมัครตางๆ เปนตน
                         7) ประสานการระดมสรรพกำลังและทรัพยากรดานการแพทยและสาธารณสุขแบบบูรณาการ
               (Integrated resource management) จากทุกภาคสวน

                         8) จัดใหมีการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (Emergency Care System) ครอบคลุมการแพทยฉุกเฉิน
               กอนถึงโรงพยาบาล (Emergency medical services: EMS) การรักษาพยาบาลฉุกเฉินที่โรงพยาบาล
               (Emergency Care in hospital) การสงตอ (Inter-hospital care) และจัดระบบเครือขายบริการดาน

               การแพทยและสาธารณสุข สนับสนุนการปฏิบัติงานทั่วประเทศ
                         9) จัดใหมีระบบฐานขอมูลและความเสียหายทางดานการแพทยและสาธารณสุข และการรายงาน
               ผลอยางถูกตองและรวดเร็ว

                        10) กำกับใหมีการคงสภาพและประคับประคองระบบบริการดานการแพทยและสาธารณสุข
               ครอบคลุมทุกมิติ ไดแก มิติดานการดูแลสภาพจิตใจ การอนามัยแมและเด็ก การปองกันและควบคุมโรค การ

               รักษาพยาบาล การเฝาระวังโรคติดตอ ตลอดจนการเขาถึงบริการดานการแพทยและสาธารณสุขของ
               ผูประสบภัยไดอยางทั่วถึงในทุกพื้นที่ของประเทศ
                        11) ฟนฟูระบบการบริการดานการแพทยและสาธารณสุขรวมถึงฟนฟูสภาพจิตใจสังคมและวิถีชีวิต
               ของผูประสบภัยและผูเกี่ยวของใหกลับคืนสูภาวะปกติโดยเร็ว



               42
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47