Page 45 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 45

3.7 กระทรวงเกษตรและสหกรณ
                         1) จัดทำฐานขอมูลพื้นที่เกษตรกรรมที่เปนพื้นที่เสี่ยงภัยและพื้นที่เกิดภัยในอดีต (กรมสงเสริม

               การเกษตรกรมปศุสัตว กรมประมง กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน และสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
               เกษตรกรรม)

                         2) วางแผนและมาตรการในการปองกันและแกไขปญหาสาธารณภัยดานการเกษตร (สำนักงาน
               ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมสงเสริมการเกษตร กรมปศุสัตว กรมประมง กรมชลประทาน กรม
               พัฒนาที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรมการขาว กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กรม
               วิชาการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร)

                         3) พัฒนาพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ชลประทาน เพื่อลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย (กรมสงเสริม
               การเกษตร กรมปศุสัตว กรมประมง กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ

               เกษตรกรรม และกรมวิชาการเกษตร)
                         4) ติดตามสถานการณภัยและแจงเกษตรกรเพื่อเตรียมพรอมรับสถานการณ (สำนักงาน
               ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมสงเสริมการเกษตร กรมปศุสัตว กรมประมง กรมชลประทาน กรม

               พัฒนาที่ดิน และกรมการขาว)
                         5) สำรวจและประเมินความเสียหายดานการเกษตรเพื่อใหการชวยเหลือตามระเบียบของทาง
               ราชการ (สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมสงเสริมการเกษตร กรมปศุสัตว กรมประมง และ

               กรมชลประทาน)
                         6) ปรับปรุงฟนฟูพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ชลประทานที่ไดรับความเสียหายจากสาธารณภัย
               เพื่อใหเกษตรกรสามารถประกอบอาชีพได (กรมสงเสริมการเกษตรกรมปศุสัตว กรมประมง กรมชลประทาน

               กรมพัฒนาที่ดิน และสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม)
                         7) ปฏิบัติการฝนหลวงและบริหารจัดการน้ำเพื่อปองกันและแกไขปญหาอุทกภัยและภัยแลง (กรม

               ฝนหลวงและการบินเกษตรและกรมชลประทาน)
                         8) กำหนดแนวทางปองกันและใหความชวยเหลือสัตวเลี้ยง สัตวเศรษฐกิจ และสัตวงานไมใหไดรับ
               ผลกระทบจากสาธารณภัย (กรมปศุสัตว กรมประมง กรมหมอนไหม และกรมการขาว)

                   3.8 กระทรวงพาณิชย
                         1) จัดทำทะเบียนฐานขอมูลผูผลิต/ผูนำเขาสินคาอุปโภคบริโภคที่จำเปนตอการครองชีพ (กรมการ
               คาภายใน และองคการคลังสินคา)

                         2) จัดระบบการปนสวนและกำหนดมาตรการควบคุมราคาสินคาและบริการขณะเกิดภัย (กรมการ
               คาภายใน) กำหนดมาตรการปองปรามการฉวยโอกาสกักตุนสินคาหรือขึ้นราคาสินคาซ้ำเติมผูบริโภคโดยมีการก
               กับดูแลทั้งตนทางและปลายทาง (กรมการคาภายใน)

                         3) ติดตามสินคาที่เปนพืชผลการเกษตรในพื้นที่ประสบภัย รวมทั้งสำรวจและประเมินความเสียหาย
               (กรมการคาภายใน)

                         4) สนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัยโดยประสานผูผลิต/ผูนำเขาสินคาที่จำเปนตอการครองชีพ
               และประสานผูผลิต/ผูนำเขาเพื่อสงสินคาเขาแตละพื้นที่ใหเพียงพอกับความตองการโดยเฉพาะพื้นที่ประสบภัย
               และควบคุมใหจำหนายในราคาปกติ (กรมการคาภายใน)





                                                                                                       45
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50