Page 52 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 52

ทั้งนี้งานบรรเทาทุกขภัยพิบัติตางๆ ตามพื้นที่รับผิดชอบประกอบดวยการมอบชุดธารน้ำใจ การจัดครัว

               เคลื่อนที่ การสนับสนุนเรือทองแบนและหนวยผลิตน้ำดื่ม งานพัฒนาและติดตามชุมชนพรอมรับภัยพิบัติ งาน
               อบรมใหความรูดานภัยพิบัติแกชุมชนและโรงเรียน และมีคลังสัมภาระเพื่อการบรรเทาทุกข 3 จังหวัดภาคใต ที่

               จังหวัดปตตานี ภายใตการดูแลโดยสถานีกาชาดที่ 12 จ.นครศรีธรรมราช

               5 องคกรระหวางประเทศ

                   5.1 องคการสหประชาชาติ (United Nation)

                        องคการสหประชาชาติเปนองคกรหลักที่มีบทบาทสำคัญในการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม
               ระหวางประเทศแกผูประสบภัย โดยมีองคกรในสังกัดและองคกรระหวางประเทศอื่นๆ ที่รวมใหความชวยเหลือ
               ดานมนุษยธรรมระหวางประเทศแกผูประสบภัยดวย ซึ่งการใหความชวยเหลือแกผูประสบภัยในอดีตที่ผานมา
               บางครั้งเกิดความซ้ำซอน ไมครอบคลุม ไมทั่วถึง และลาชา ดังนั้นสหประชาชาติจึงไดเสนอใหมีการแบงภารกิจ

               การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมระหวางประเทศแกผูประสบภัยเปน 11 ดาน (Cluster Approach) และ
               กำหนดหนวยงานหลักที่รับผิดชอบในการใหความชวยเหลือแตละดานไว ดังนี้

                         1) ดานการฟนฟูเบื้องตน (Early recovery) นำโดยโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (United
               Nations Development Program; UNDP)
                         2) ดานการศึกษา (Education) นำโดยองคการทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ (United

               Nations Children’s Fund; UNICEF)
                         3) ดานสุขาภิบาลน้ำและสุขอนามัย (Water Sanitation and Hygiene) นำโดย องคการทุนเพื่อ
               เด็กแหงสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund; UNICEF)

                         4) ดานสุขภาพอนามัย (Health) นำโดยองคการอนามัยโลก (World Health Organization; WHO)
                         5) ดานที่พักฉุกเฉิน (Emergency Shelter) นำโดยสหพันธสภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดง
               ระหวางประเทศ (International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies; IFRC) และ

               สำนักงานขาหลวงใหญผูลี้ภัยสหประชาชาติ (UN High Commissioner for Refugees; UNHCR)
                         6) ดานการจัดที่พักพิง (Camp Management and Coordination) นำโดยองคการระหวาง

               ประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน (International Organization for Migration; IOM) และสำนักงาน
               ขาหลวงใหญผูลี้ภัยสหประชาชาติ (UN High Commissioner for Refugees; UNHCR)
                         7) ดานการคุมครองสิทธิของผูประสบภัย (Protection) นำโดยสำนักงานขาหลวงใหญผูลี้ภัย

               สหประชาชาติ (UN High Commissioner for Refugees; UNHCR)
                         8) ดานโลจิสติก นำโดยโครงการอาหารโลก (World Food Programme; WFP)
                         9) ดานความมั่นคงทางอาหาร นำโดยองคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (Food and

               Agriculture Organization; FAO) และโครงการอาหารโลก (World Food Programme; WFP)
                         10) ดานโภชนาการ องคการทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ (United Nations Children’s
               Fund; UNICEF)

                         11) ดานการสื่อสารในภาวะฉุกเฉิน นำโดยโครงการอาหารโลก (World Food Programme; WFP)



               52
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57