Page 54 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 54

4)  ใหความชวยเหลือพลเรือนที่ไดรับผลกระทบในพื้นที่ที่มีความขัดแยงทางทหารหรือเขตยึดครอง
               ของขาศึก

                        5)  สืบหาผูสูญหายอันเนื่องมาจากสงครามและสงขอมูลขาวสารใหสมาชิกในครอบครัวที่ตองพลัด
               พรากเนื่องจากการสูรบ

                        6)  เผยแพรกฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศ และดูแลใหมีการใชกฏหมายอยางเครงครัดเพื่อ
               คุมครองมนุษยชาติ
                        7)  ใหการสนับสนุนการทำงานของสภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงเพื่อเตรียมรับมือกับ
               สถานการณการสูรบและความรุนแรงอื่นๆ

                     5.4 คณะกรรมการจัดการสาธารณภัยกับอาเซียน (ASEAN Committee on Disaster Management:
               ACDM)

                         คณะกรรมการจัดการสาธารณภัยกับอาเซียนเปนองคกรหลักที่มีบทบาทหนาที่ในการใหความ
               รวมมือกับประเทศสมาชิกในกลุมอาเซียนในการจัดการสาธารณภัย ดังนี้
                          1) กำหนดยุทธศาสตรและกรอบความรวมมือในการจัดการสาธารณภัยระหวางประเทศสมาชิกใน

               กลุมอาเซียน
                          2) พัฒนาความตกลงวาดวยการจัดการสาธารณภัย และการทำงานรวมกันในภาวะฉุกเฉิน
               ระหวางประเทศสมาชิกในกลุมอาเซียน

                          3) พัฒนามาตรฐานการใหความชวยเหลือยามเกิดสาธารณภัยตามขอตกลงระหวางประเทศ
               สมาชิกในกลุมอาเซียน
                          4) เสริมสรางประสิทธิภาพในการทำงานของคณะทำงานในแตละประเทศสมาชิกเพื่อใหความ

               ชวยเหลือแบบฉุกเฉินฉับพลันในยามเกิดสาธารณภัย
                          5) จัดกิจกรรมซอมรับมือสาธารณภัยในอาเซียนอยางสม่ำเสมอ

               6. หลักการประสานความรวมมือจากหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและ

               ภาคเอกชน
                  ในแผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติป 2558 ไดมีการกำหนดแนวทางการประสานความรวมมือ

               จากหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของตามการแบงบทบาท หนาที่ขององคกรภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวของกับ
               การดูแลผูประสบภัยไว ดังนี้
                  6.1 แนวทางการปฏิบัติงานรวมกับหนวยทหาร

                     ในการปฏิบัติการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยรวมระหวางพลเรือนกับทหารนั้นจะตองมีการ
               ประสานงานระหวางกันอยางใกลชิดตั้งแตกอนเกิดภัย และมีการติดตอสื่อสารระหวางกันอยางตอเนื่องเพื่อให

               การสนับสนุนการจัดการสาธารณภัยของกองบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติและศูนย
               บัญชาการเหตุการณในแตละระดับกับหนวยทหารมีความพรอมในการปฏิบัติงานทันทีเมื่อเกิดสาธารณภัย อาจ
               พิจารณาจัดตั้งศูนยประสานงานระหวางพลเรือนกับทหารเพื่อประชุมหารือและแลกเปลี่ยนขอมูลในการจัดการ

               สาธารณภัย รวมทั้งการบรรยายสรุปสถานการณประจำวันเพื่อทำความเขาใจตอสถานการณใหตรงกันโดยยึด
               กรอบแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐานหลักสากลและพระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัยพ.ศ.
               2550




               54
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59