Page 58 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 58

ประเด็นกฎหมายในสถานการณสาธารณภัย

                                                                                 อ.ดร.บุศรินทร หลิมสุนทร

               วัตถุประสงค

                      เมื่อนักศึกษาเรียนเรื่องนี้จบแลว นักศึกษาสามารถ
                      1.  อธิบายจริยธรรม สิทธิมนุษยชนและสิทธิอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการพยาบาลสาธารณภัยได

                      2.  อธิบายกฎหมายที่เกี่ยวของกับการพยาบาลสาธารณภัยได


               กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย
                      1.  กฎหมายระดับสากล

                          กฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศ ( International Humanitarian Law: IHL )
                              กฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศเปนสวนหนึ่งของกฎหมายระหวางประเทศ กฎหมาย
               ระหวางประเทศเปนกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธระหวางรัฐดวยกัน และหลายๆ รัฐ

                              แนวคิดเรื่องกำเนิดของกฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศเพื่อปองกันความสูญเสียจากการ
               สงครามตอชีวิตและทรัพยสิน รวมทั้งปองกันประชาชนผูบริสุทธิ์ จึงกอใหเกิดปฏิญญาเจนีวา หรืออนุสัญญาเจนีวา

               มีทั้งสิ้น 4 ฉบับ
                              ฉบับที่ 1 เนนเรื่องการปกปองผูบาดเจ็บและเจ็บปวยในการสูรบสงคราม
                              ฉบับที่ 2 เนนการปกปองผูบาดเจ็บและเจ็บปวยในการสูรบสงครามในทะเล
                              ฉบับที่ 3 เนนการปฏิบัติตอเชลยศึก

                              ฉบับที่ 4 เนนการปองกันพลเรือนในระหวางสงคราม
                                กฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศบังคับใชใน 3 สถานการณ ดังนี้ 1) ในสงครามระหวาง

               ประเทศซึ่งเปนการตอสูกันระหวาง 2 ประเทศขึ้นไป 2)ในสถานการณที่อาณาเขตทั้งประเทศหรือบางสวนถูก
               ครอบครองโดยตางชาติ และ 3) ในสงครามภายในประเทศ เชน การสูรบระหวางกองกำลังของรัฐและฝาย
               ตอตาน กฎหมายนี้บังคับใชกับทุกฝายไมวาฝายใดจะเปนฝายเริ่มก็ตาม




























               58
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63