Page 60 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 60

4. การสั่งใหโจมตีโดยเจตนาตออาคาร สิ่งกอสรางทางศาสนา การศึกษา ศิลปะ   วิทยาศาสตร หรือ
               เพื่อการกุศลอื่นใด สถานที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร โรงพยาบาล  และสถานที่อื่นๆ ที่ใชเปนที่รวมของผู

               ที่เจ็บปวยหรือผูที่บาดเจ็บ โดยที่สถานดังกลาวขางตนมิไดใชเพื่อวัตถุประสงคทางการทหารแตอยางใด
                      5. การปลนสดมภ เมืองหรือสถานที่ตางๆ  แมวาจะกระทำขณะเขาโจมตีก็ตาม

                      6. การขมขืนกระทำชำเรา การบังคับใหเปนทาสทางเพศ  การบังคับใหเปนโสเภณี บังคับใหตั้งครรภ
               บังคับใหทำหมัน และการกระทำรุนแรงทางเพศดวยรูปแบบวิธีการอื่นๆ
                      7. บังคับหรือเกณฑเด็กอายุต่ำกวา 15 เปนเขารวมในกองกำลังติดอาวุธ หรือ กลุมติดอาวุธ หรือ ใชให
               เด็กๆ เขารวมอยางแทจริงในกรณีขัดแยงที่เปนปฏิปกษตอกัน

                      8. การสั่งใหโยกยายประชาชนที่เปนพลเรือน ดวยเหตุผลที่เกี่ยวของกับกรณีขัดแยงที่ขาดความชอบ
               ธรรม เวนแตกรณีที่ทำเพื่อความปลอดภัยของพลเรือนหรือเหตุผลทางดานความจำเปนทางทหารบังคับ

                      9. การฆาหรือทำใหพลรบฝายปรปกษไดรับบาดเจ็บอยางโหดเหี้ยมทารุณ
                      10. การประกาศวาจะไมไวชีวิตแกฝายที่เปนอริศัตรูหรือฝายตรงขาม แมวาจะยอมจำนนหรือยอมแพ
               แลวก็ตาม

                      11. การทำใหบุคคลของฝายตรงขามที่อยูภายใตอำนาจของตนถูกตัดเฉือนอวัยวะหรือชิ้นสวนใดๆ ของ
               รางกาย หรือใชเปนเครื่องทดลองทางการแพทยหรือทางวิทยาศาสตรไมวาจะเปนการคนควาทดลองประเภทใด
               ก็ตาม ที่ขาดความชอบธรรมทางการแพทย ทางทันตกรรมหรือทางการรักษาพยาบาล อันจะนำไปสูอันตราย

               อยางรายแรงตอสุขภาพหรือการตายของบุคคลนั้น
                      12. การทำลายหรือยึดทรัพยสินของฝายตรงกันขาม นอกเสียจากวา การทำลายหรือการยึดครอง
               ทรัพยสินดังกลาวเปนความจำเปนที่หลีกเลี่ยงมิไดในกรณีขัดแยง



               2. กฎหมายของประเทศไทย
                         2.1 กฏหมายรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2550 ไดบัญญัติการรับรองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ที่สำคัญ คือ
                              1) มาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ยอมไดรับความคุมครอง

                              2) มาตรา 26 การใชอำนาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
               สิทธิ และเสรีภาพ ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้

                              3) มาตรา 28 บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษย หรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทาที่ไม
               ละเมิดสิทธิ และเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน
               บุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิ หรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไวสามารถยกบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อใชสิทธิ

               ทางศาล หรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได
                              4) มาตรา 29 การจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไวจะกระทำมิได เวน
               แตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กำหนดไวและเทาที่จำเปน

               เทานั้น และจะกระทบกระเทือนสาระสำคัญแหงสิทธิเสรีภาพนั้นมิได
                         ( สิทธิ ในทางกฎหมาย คือ อำนาจที่กฎหมายรับรองคุมครองใหแกบุคคลเพื่อเรียกรองใหบุคคลอื่น
               กระทำการอยางใดอยางหนึ่ง สิทธิจึงกอใหเกิดหนาที่แกบุคคลอื่นดวย เชน สิทธิตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

                       เสรีภาพ หมายถึง สภาพการณที่บุคคลมีอิสระที่จะกระทำการอยางใดอยางหนึ่ง ตามความประสงคของตน




               60
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65