Page 68 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 68

6.20) ประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น เรื่อง
               การจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจโครงการชวยเหลือฟนฟูความเสียหายจากภัยพิบัติธรรมชาติและสาธารณภัย

               ปงบประมาณ พ.ศ.2551
                         2.4 พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ.2551 ตามพระราชบัญญัตินี้กำหนดการปฏิบัติการ

               ฉุกเฉินเพื่อคุมครองความปลอดภัยของผูปวยฉุกเฉินใหหนวยปฏิบัติการ สถานพยาบาลและผูปฏิบัติการ
               ดำเนินการปฏิบัติการฉุกเฉินตามหลักการ ดังนี้
                           - ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัดใหผูบาดเจ็บฉุกเฉินไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉิน
               ตามลำดับความเรงดวนทางการแพทยฉุกเฉิน

                           - ผูบาดเจ็บฉุกเฉินตองไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของหนวยปฏิบัติการ
               หรือสถานพยาบาลนั้นกอนสงตอ เวนแตแพยใหการรับรองวาการสงตอผูบาดเจ็บฉุกเฉินจะเปนประโยชนตอ

               การปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บของผูบาดเจ็บฉุกเฉินนั้น
                           - การปฏิบัติการฉุกเฉินตอผูบาดเจ็บฉุกฉินตองเปนไปตามความจำเปนและขอบงชี้ทาง
               การแพทยฉุกเฉิน โดยมิใหนำสิทธิการประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือความสามารถในการ

               รับผิดชอบคาใชจายของผูปวยฉุกเฉินหรือเงื่อนไขใดๆ มาเปนเหตุปฏิเสธผูบาดเจ็บฉุกเฉินใหไมไดรับการ
               ปฏิบัติการฉุกเฉินอยางทันทวงที


               ประเด็นทางกฎหมายที่ตองคำนึงถึงในการรักษาพยาบาลผูบาดเจ็บจากสาธารณภัย

                           1) การแสดงความยินยอม (Informed consent) การพยาบาลผูบาดเจ็บที่มารับบริการที่หอง
               ฉุกเฉินนั้น จะตองไดรับความยินยอมจากผูปวยหรือญาติเสมอ
                           2) การชวยเหลือกรณีฉุกเฉิน (Emergency doctrine) หมายถึง การชวยเหลือเพื่อชวยชีวิต

               หรือใหผูปวยปลอดภัยกอนที่จะไดรับความยินยอมจากผูปวยหรือญาติ ซึ่งจะทำในกรณีเรงดวนและผูปวยไม
               สามารถใหความยินยอมไดเนื่องจากไมรูสึกตัว ปจจุบันการปฏิบัติการฉุกเฉินอยูภายใตการควบคุมของ
               พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ.2551

                           3) การรักษาความลับ (Confidentiality) และสิทธิในความเปนสวนตัว (The Right to
               Privacy) พยาบาลตองเปนผูพิทักษสิทธิและรักษาความลับผูบาดเจ็บ

                           4) การบันทึกทางการพยาบาล
                             - บันทึกเฉพาะขอเท็จจริงที่ไดเห็นและเกิดขึ้นจริง
                             - การบันทึกบาดแผลควรระบุตำแหนง ขนาดและจำนวนบาดแผลใหครบถวน

                             - เรียงลำดับตามวันเวลาที่เกิดขึ้นจริง
                             - หามเปลี่ยนแปลงแกไขขอความที่บันทึกไว กรณีที่เขียนผิดใหใชปากกาแดงขีดทับและ
                                ลงลายมือกำกับไว หามใชน้ำยาลบคำผิด

                           5) การดูแลผูปวยสมองตาย (brain death) เกณฑการวินิจฉัยสมองตาย การบริจาคอวัยวะการ
               ทดสอบสมองตายจะทำใหสถานที่ทำไดเทานั้น และจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขของประกาศแพทยสภาอยาง
               เครงครัด







               68
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73