Page 73 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 73

ความเสียหาย ขาดแคลนทรัพยากร และเกิดความวุนวายในสังคม ชนกลุมนอย/คนตางดาวเหลานี้มักถูก
               ทอดทิ้ง

























                  1.2  ความแตกตางดานศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ

                      คนที่มีความเชื่อทางศาสนาหรือมีสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตวิญญาณ เมื่อประสบภัยจะมีสุขภาพจิตที่ดี และ
               สามารถฟนฟูจิตใจตนเองไดเร็วกวาผูที่ไมมีสิ่งใดยึดเหนี่ยว ขณะที่ผูที่ไมมีสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตวิญญาณจะมีการ
               จัดการกับปญหาหรือความเครียดไดไมดีนัก อาจทำใหรูสึกทอแท สิ้นหวัง และหากเปนคนมองโลกในแงรายก็

               อาจมีความเสี่ยงตอการเกิดปญหาสุขภาพจิตมากกวาคนปกติ อยางไรก็ตาม ในการจัดการเพื่อลดความเสี่ยงภัย
               จำเปนที่จะตองนำประเด็นเกี่ยวกับศาสนา ลัทธิ ความเชื่อมาพิจารณาดวย ทั้งนี้มาตรการตางๆ ที่จะนำมาใช

               จะตองไมขัดกับศาสนา ลัทธิ ความเชื่อของประชาชน จึงจะไดรับการยอมรับและนำไปปฏิบัติ






















                  1.3  ความแตกตางดานภาษาหรือการสื่อสาร
                      สำหรับความแตกตางดานภาษาหรือการสื่อสาร ผูประสบภัยที่ใชภาษาถิ่นในการสื่อสารอาจไมเกิด
               ปญหาหากผูที่ใหการดูแลชวยเหลือมีความเขาใจภาษาและสามารถสื่อสารถิ่นได แตกรณีที่ผูเขาไปชวยเหลือ

               ไมใชคนในพื้นที่และไมสามารถฟงภาษาถิ่นของผูประสบภัยไดเขาใจและไมมีความไวเชิงวัฒนธรรม ลักษณะการ
               แสดงออกของพยาบาลอาจทำใหผูประสบภัยเกิดความรูสึกถูกแบงแยก หรือดูดอยกวา ภาษาจึงอาจเปนสิ่งกีด

               ขวางการใหการดูแลชวยเหลือ โดยเฉพาะกรณีที่พยาบาลจะเขาไปชวยเหลือฟนฟูจิตใจหลังประสบภัยแตไม




                                                                                                       73
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78