Page 74 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 74
เขาใจภาษา นอกจากจะทำใหมีความยากลำบากในการสื่อสารแลวยังอาจถูกผูประสบภัยปฏิเสธการรับความ
ชวยเหลือ และสงผลใหการฟนฟูสภาพจิตใจไมประสบผลสำเร็จ
1.4 ความแตกตางดานเพศ
ในสังคมของทุกชนชาติ สตรีมักถูกมองวาตองพึ่งพิงผูอื่น ในบางประเทศมีการเลือกปฏิบัติและให
ความสำคัญกับบุรุษมากกวาสตรี สตรีที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณสาธารณภัยมักจะถูกมองขามและไมได
รับความชวยเหลือที่เทาเทียมกับบุรุษ รวมทั้งสตรีมักมีสวนรวมในการเรียกรองความชวยเหลือนอยกวาบุรุษ
ความแตกตางดานเพศจึงเปนประเด็นสำคัญ โดยเฉพาะสตรีที่มีสถานภาพสูญเสียหรือพลัดพรากจากบุคคลใน
ครอบครัว เชน หญิงหมาย คนชรา และสตรีที่เปนหัวหนาครอบครัว ก็จะเปนกลุมที่เสี่ยงที่จะไดรับผลกระทบ
จากสาธารณภัยที่รุนแรง ทั้งที่สตรีเปนพลังสำคัญของสังคมที่มีสวนรวมในการฟนฟูหลังจากที่เกิดเหตุการณภัย
พิบัติธรรมชาติ สงเสริมใหสตรีมีบทบาทในการมีสวนรวมวางแผนบริหารจัดการสาธารณภัย และสงเสริม
ศักยภาพของสตรีสามารถชวยลดความเสี่ยงภัยระหวางเกิดภัยพิบัติธรรมชาติได อีกทั้งยังเปนการสงเสริมความ
เทาเทียมกันทางเพศ และลดปญหาการแสวงหาประโยชนทางเพศที่จะตามมาอีกดวย
1.5 ความแตกตางดานประสบการณเกี่ยวกับสาธารณภัย
ผูที่มีประสบการณในเหตุการณสาธารณภัยโดยตรงและรุนแรงจะมีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะเกิดความเครียด
หลังไดรับบาดแผลทางจิตใจจากเหตุการณสาธารณภัยมากกวาผูที่มีประสบการณทางออม โดยเฉพาะหากไดรับ
บาดเจ็บทางกาย มีการสูญเสียอวัยวะ หรือมีผลกระทบตอสุขภาพที่รุนแรงมากเทาใดก็จะยิ่งมีความเสี่ยงสูงมาก
ขึ้นเทานั้น แมในกรณีที่ไมเกิดความสูญเสียดานรางกายแตมีการสูญเสียบุคคลอันเปนที่รักหรือสูญเสียทรัพยสิน
ก็อาจนำไปสูการเกิดความเครียดหลังไดรับบาดแผลทางจิตใจไดเชนกัน แมเหตุการณสาธารณภัยจะเปนภัยทาง
74