Page 76 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 76
2.1 การสื่อสาร (communication)
การสื่อสารทั้งการสื่อสารทางวาจาและทาทางอาจเปนอุปสรรคในการใหการดูแลไดหากพยาบาลและ
ผูประสบภัยมาจากวัฒนธรรมที่แตกตางกัน การตีความและการรับรูความหมายจากคำพูดหรือการแสดงออกที่
ไมตรงกันอาจทำใหเกิดความเขาใจผิด สงผลใหทั้งสองฝายไมสามารถจะบรรลุความตองการได และเกิด
ความรูสึกที่ไมดีตอกันจนไมอยากที่จะมีปฏิสัมพันธกันตอไป
2.2 ระยะหางของบุคคล (personal space)
ระยะหางของบุคคลหรือพื้นที่สวนตัวของแตละคนอาจแตกตางกัน แตจะคลายกันในกลุมคนที่มี
วัฒนธรรมเดียวกัน บุคคลจากวัฒนธรรมหนึ่งอาจใชการสัมผัสอยางใกลชิดกับบุคคลอื่นดวยทาทางที่เปนมิตรใน
ขณะที่บางวัฒนธรรมอาจมองพฤติกรรมดังกลาวเปนการรุกราน การใหการดูแลหรือใหคำปรึกษาใน
สถานการณสาธารณภัยจะตองเขาใจวัฒนธรรมในเรื่องระยะหางของบุคคลที่มาจากแตละวัฒนธรรม
2.3 องคกรทางสังคม (social organization)
ความเชื่อคานิยมและทัศนคติเปนสิ่งที่เรียนรูและถูกปลูกฝงผานองคกรทางสังคม เชน ครอบครัว ชุมชน
กลุมการเมือง เศรษฐกิจ และศาสนา ที่มีอิทธิพลตอความเขาใจ สิ่งเหลานี้จะชวยใหการดูแลหรือการให
คำปรึกษาในสถานการณสาธารณภัยเปนไปอยางถูกตอง การประเมินปฏิกิริยาของผูประสบภัยแมวาจะเปนการ
ใหคำตอบเพียงเล็กนอยของผูประสบภัยก็มีความสำคัญ เพราะคำถามเล็กนอยเกี่ยวกับงานอดิเรกและกิจกรรม
ทางสังคมจะนำไปสูความเขาใจในชีวิตผูประสบภัยกอนที่จะไดรับผลกระทบจากสาธารณภัยได
2.4 เวลา (time)
บุคคลที่มาจากวัฒนธรรมที่แตกตางจะมีชวงเวลา และระยะเวลาที่แตกตางกัน ทั้งในแงของเวลาอาหาร
เวลาพักผอน เวลาทำงาน เวลาเพาะปลูกและเก็บเกี่ยวที่แตกตางกัน ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไปในชวงที่เกิด
สาธารณภัย การทำความเขาใจเกี่ยวกับเวลาสามารถชวยหลีกเลี่ยงความเขาใจผิดและการสื่อสารที่เปนปญหา
ของผูคนที่มีความแตกตางทางวัฒนธรรมได การดูแล การใหคำแนะนำหรือการปรึกษาที่ทำในชวงเวลาที่
ผูประสบภัยไมพรอมหรือการทำดวยความเรงรีบอาจไดรับการปฏิเสธจากผูประสบภัยได
2.5 การควบคุมสิ่งแวดลอม (environmental control)
ความเชื่อเกี่ยวกับการควบคุมสิ่งแวดลอมจะสงผลใหผูประสบภัยที่รอดชีวิตมีการตอบสนองตอ
สาธารณภัยในลักษณะที่แตกตางกัน ถาบุคคลชื่อวาสาธารณภัยเกิดขึ้นจากปจจัยภายนอกที่ไมสามารถควบคุม
ได เชน เชื่อวาเปนความโชครายหรือฟาดินลงโทษ บุคคลนั้นก็จะยอมจำนนกับโชคชะตาหรือผลกระทบที่
เกิดขึ้นจากสาธารณภัย และไมคิดที่จะหาทางแกไขหรือปองกัน รวมทั้งการพยายามที่จะใหคำแนะนำหรือการ
ฟนฟูสภาพจากสาธารณภัยอาจจะถูกมองในแงราย ในทางตรงกันขามกัน บุคคลที่รับรูปฏิกิริยาของตนเองที่
เกิดขึ้นหลังจากเผชิญสาธารณภัย หรือรับรูวาสาธารณภัยสงผลกระทบตอการดำเนินชีวิตอาจจะยินดีที่ยอมรับ
การดูแลชวยเหลือ ดังนั้นพยาบาลที่ใหการดูแลทางจิตใจหรือการใหคำปรึกษาในภาวะที่เกิดสาธารณภัยจึงตอง
เขาใจความเชื่อที่เกี่ยวของกับการควบคุมสิ่งแวดลอมของผูประสบภัยดวย
2.6 สมรรถนะเชิงวัฒนธรรม (cultural competence)
พยาบาลเปนบุคคลากรสุขภาพที่มีความใกลชิดกับผูประสบภัยมากกวาสมาชิกในทีมสุขภาพอื่นๆ ทั้งใน
สถานการณปกติและในสถานการณสาธารณภัย พยาบาลควรตระหนักถึงความแตกตางทางวัฒนธรรมที่อาจ
สงผลกระทบตอการใหการพยาบาลในสถานการณสาธารณภัย และควรพัฒนาตนเองใหมีสมรรถนะเชิง
76