Page 81 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 81
ผูสูญเสีย ซึ่งเมื่อขาวการสูญเสียตกเปนขาวหรือถูกเผยแพรผาน social media หนวยงานตางๆ มักจะมีการ
ระดมทุนเพื่อการชวยเหลือ โดยที่การเขาถึงการชวยเหลืออาจไมทั่วถึง ผูประสบภัยที่ตกเปนขาวมักจะไดรับ
ความชวยเหลือมากจนเกินความจำเปน ในขณะที่ผูประสบภัยที่ไมไดตกเปนขาวแทบไมไดรับอะไรเลย ซึ่งหาก
พยาบาลเขาไปจัดการทรัพยากรเหลานี้ อาจเกิดความขัดแยงกับหนวยงานที่มีแนวทางการดำเนินงานที่แตกตาง
กันได พยาบาลบางคนอาจมีคำถามขัดแยงในใจวา เปนการถูกตองหรือไมที่ความชวยเหลือจะไปถึงเฉพาะ
ผูประสบภัยที่ตกเปนขาวหรือถูกเผยแพรผาน social media และการเยียวยาตองเปนการนำเงินทองหรือ
สิ่งของไปใหทุกครั้ง
5) พยาบาลมีสิทธิที่จะปฎิเสธการใหการชวยเหลือหรือไม เพื่อความปลอดภัยของตนเอง การใหการ
ชวยเหลือในสถานการณสาธารณภัยบางครั้งจำเปนตองออกไปยังพื้นที่ที่เสี่ยงอันตราย พยาบาลอาจรูสึกไม
ปลอดภัยและหวาดกลัว แตโดยหนาที่ทำใหไมสามารถปฏิเสธได ทำใหบางครั้งเกิดความรูสึกคับของใจวา ทำไม
ตนจึงไมสามารถพิทักษสิทธิของตนเองได ถูกหรือไมที่จะปกปองตัวเองบาง และจะเปนการผิดจรรยาบรรณ
วิชาชีพหรือไม
จะเห็นไดวา ประเด็นขัดแยงดังกลาว ไมสามารถหาคำตอบไดทันที และคงไมมีสูตรสำเร็จรูปสำหรับการ
แกไขขอขัดแยงนี้ สิ่งสำคัญที่พยาบาลควรทำ คือ การใชเหตุผลทางจริยธรรมในการตัดสินใจใหเหมาะสมกับแต
ละบริบท และแตละบุคคล เพื่อใหไดคำตอบที่เหมาะสมที่สุดในขณะนั้น
81