Page 82 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 82

6. แนวทางการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในสถานการณสาธารณภัย

                   การตัดสินใจเชิงจริยธรรม เปนกระบวนการใชเหตุผลเชิงจริยธรรมในการพิจารณาตัดสินใจเลือกกระทำการ
               สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เพื่อแกไขความรูสึกคับของใจที่เกิดจากการปฏิบัติการพยาบาล โดยอาจนำเอาคุณคาและความเชื่อ

               ของบุคคลที่เกี่ยวของกับสถานการณ หลักการ/แนวคิดเชิงจริยธรรมตลอดจนปจจัยอื่นๆ มาประกอบการ
               ตัดสินใจ  เมื่อทีมสุขภาพประสบกับประเด็นขัดแยงหรือความคับของใจเชิงจริยธรรมขณะใหการชวยเหลือ
               บุคคลในสถานการณสาธารณภัยจึงจำเปนตองนำกระบวนการตัดสินใจเชิงจริยธรรมมาใชในการกำหนดการ
               ดำเนินการ เพื่อใหเกิดผลดีที่สุดสำหรับผูประสบภัย ซึ่งเมื่อพิจารณาตามแนวคิดการตัดสินใจเชิงจริยธรรม

               สามารถสรุปเปนขั้นตอน ไดดังนี้
                   1)  การรวบรวมขอมูล พยาบาลตองรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความเชื่อ การใหคุณคาประวัติครอบครัว และ

               ลักษณะเหตุการณที่เกิดขึ้นของผูประสบภัยเพื่อพิจารณาใหไดวาเกิดประเด็นขัดแยงในเรื่องใดบาง เชน ความเชื่อ
               เกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อคลายเครียด ความเขาใจหรือความเชื่อตอเหตุการณที่เกิดขึ้น นอกจากนั้น พยาบาลตอง
               ทำการประเมินตนเองเกี่ยวกับศักยภาพที่มีอยู ตลอดจนแหลงสนับสนุน รวมถึงความเชื่อทัศนคติของพยาบาลเอง

                   2)  การวิเคราะหประเด็นขัดแยงเชิงจริยธรรม เปนการนำขอมูลที่รวบรวมไดมาวิเคราะห สรุปเปนประเด็น
               ขัดแยงเชิงจริยธรรม เชน ตองการใหผูที่ตกในสถานการณสาธารณภัยนำวิธีการผอนคลายความเครียดแบบ
               จินตนาการมาใช เพราะพยาบาลเชื่อวาเปนวิธีที่ดีที่สุด แตผูประสบภัยไมยอมรับ ทำใหพยาบาลเกิดความคับ

               ของใจวาควรจะทำใหผูประสบภัยยอมเลือกใชวิธีการดังกลาวหรือปลอยใหผูประสบภัยไดเลือกในสิ่งที่ตองการ
               แตอาจกาวเขาสูภาวะวิกฤตระยะตอไปได
                   3)  การกำหนดและเลือกแนวทางการแกไขประเด็นขัดแยง โดยพิจารณาหาวิธีการแกไขปญหาที่มีได

               หลากหลาย และวิเคราะหดวยการนำหลักการ แนวคิด และปจจัยที่เกี่ยวของมาประกอบการตัดสินใจ
                   4)  การลงมือปฏิบัติตามแนวทางที่เลือกไว ในระยะนี้พยาบาล ควรกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติใหชัดเจน

               และงายตอการปฏิบัติ
                   5)  การประเมินผล เปนขั้นตอนที่พยาบาลตองประเมินวาวิธีการหรือแนวทางที่เลือก ชวยใหประเด็น
               ขัดแยงเชิงจริยธรรมที่เกิดขึ้นหมดไป หรือนำไปสูประเด็นขัดแยงใหม รวมถึงการประเมินความรูสึกและการ

               เรียนรูที่เกิดขึ้นของพยาบาล
                   การชวยเหลือบุคคลในสถานการณสาธารณภัยเปนการกระทำที่ชวยใหผูประสบภัยไดกลับคืนสูภาวะสมดุล
               ทางจิตใจโดยเร็วที่สุด ภายใตหลักการชวยเหลือที่เหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของผูประสบภัย ซึ่ง

               อาจนำไปสูประเด็นขัดแยงทางจริยธรรมได ดังนั้นพยาบาลจำเปนตองพัฒนาตนเองใหเปนผูมีความไวทาง
               จริยธรรม สามารถระบุประเด็นขัดแยงทางจริยธรรมที่เกิดขึ้นได และสามารถตัดสินใจเชิงจริยธรรมได


















               82
   77   78   79   80   81   82   83   84