Page 22 - รายงานสถานการณ์อนุญาโตตุลาการประจำปี 2564
P. 22

รายงานผลการพัฒนาดัชนีการรับรู้ด้านการอนุญาโตตุลาการ

             ในประเทศไทย

                    THAC  สถาบันอนุญาโตตุลาการ  ได้มีการจัดทำารายงานเพื่อพัฒนาดัชนีการรับรู้ด้านการอนุญาโตตุลาการ
      ส่วนที่ 3    ในประเทศไทย (Arbitration Perception Index : API) โดยใช้ตัวชี้วัดจำานวน 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ความรับรู้


             ด้านการอนุญาโตตุลาการของประชาชนทั่วไป, การเพิกถอนคำาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ, การบังคับตามคำาชี้ขาด

             ของคณะอนุญาโตตุลาการ,  การแนะนำาให้ใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการในการระงับข้อพิพาท,  การพิจารณาคดี
             ในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ และจำานวนคดีอนุญาโตตุลาการ เป็นตัวชี้วัดที่เก็บรวบรวมข้อมูลในปี 2562 และ 2563
             วิธีการศึกษา ใช้ตัวชี้วัดจากฐานข้อมูลทุติยภูมิ แล้วทำาการวิเคราะห์ดัชนีรวม (Composite Index) ด้วยวิธีการแบบ

             เรขาคณิต (Geometric Mean)



             ผลการศึกษา

                    ในการจัดทำาดัชนีรวมครั้งนี้ได้ใช้ตัวชี้วัดจำานวน 6 ตัวชี้วัดมาพัฒนาเป็นดัชนี โดยเป็นตัวชี้วัดที่มีการจัดเก็บ

             ข้อมูลในรูปแบบทุติยภูมิ (Secondary data) ทั้ง 6 ตัวชี้วัดมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการรับรู้ด้านอนุญาโตตุลาการ
             ในประเทศไทย ดังรายละเอียดในตารางด้านล่างนี้


                             ตารางคำอธิบายตัวชี้วัดที่นำมาพัฒนาดัชนีการรับรู้


                                    ด้านการอนุญาโตตุลาการในประเทศไทย



                                ตัวชี้วัด                                       คำ อธิบาย



             1. อัตราความรับรู้ด้านการอนุญาโตตุลาการของประชาชน อัตราความรับรู้ยิ่งมากขึ้น จะยิ่งมีสัญญาณที่ดี หมายถึง
             ทั่วไป                                           คนรับรู้เรื่องการอนุญาโตตุลาการกันมากยิ่งขึ้น

                                                              อัตราการเพิกถอนคำาชี้ขาด ยิ่งน้อยลงจะยิ่งดี หมายความว่า

             2. อัตราการเพิกถอนคำาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ  คำาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการจะมีเสถียรภาพ ไม่ถูก
                                                              เพิกถอนโดยศาล

                                                              อัตราการบังคับยิ่งสูงจะยิ่งดี เพราะหมายถึงศาลยอมรับ
             3. อัตราการบังคับตามคำาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ
                                                              ตามคำาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ

             4. อัตราการแนะนำาให้ใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการใน อัตราแนะนำาให้ใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการยิ่งสูง
             การระงับข้อพิพาท                                 จะยิ่งดีหมายความว่าคนมีความเชื่อมั่นในกระบวนการ
             *คำานวณจากกลุ่มคนที่รู้จักกระบวนการอนุญาโตตุลาการ อนุญาโตตุลาการมากขึ้น


                                                              ยิ่งระยะเวลาน้อย ยิ่งดี หมายความว่ากระบวนการ
             5. ระยะเวลาเฉลี่ยของอนุญาโตตุลาการในการพิจารณาคดี
                                                              อนุญาโตตุลาการมีความรวดเร็ว

                                                              จำานวนคดีอนุญาโตตุลาการยิ่งมากขึ้นหมายความว่าอัตรา
             6. ภาพรวมจำานวนคดีอนุญาโตตุลาการ
                                                              การใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการยิ่งสูงขึ้น

             10
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27