Page 68 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 68
ในเรื่องการเปิดเผยตัวตนนั้น จากประสบการณ์ของต้อยได้เรียนรู้ว่า ไม่ต้องบอกเรื่อง
ของเราทั้งหมดก็ได้ ตอนที่ต้อยเข้าเรียนมัธยมก็ไม่ได้บอกผลเลือดกับใคร แถมยังเป็น
เด็กกิจกรรมในโรงเรียนด้วย เรื่องนี้ไม่ได้มีผลกระทบอะไรมากกว่าตอนที่อยู่ประถม
ครูบางคนก็รู้แต่ไม่ได้พูดให้มีผลกระทบต่อการดำาเนินชีวิต
ต้อยเห็นว่ามีหลายมุมมองที่
ต้องพิจารณาในการที่จะบอก “ถ้ามุมชาวบ้านเขาก็จะรู้สึกน่ากลัว
กับคนอื่นว่าเป็นผู้อยู่ร่วมกับ เพราะองค์ความรู้เดิม ก็จะมีทัศนะ
เชื้อ อีกมุมมองหนึ่ง แต่พอเราโตขึ้น เพื่อนบางคน
ที่รู้ผลเลือดก็รู้ว่าไม่ได้มีผลกระทบอะไร
จากการที่ต้อยได้เคยเข้าร่วม แต่บางคนอาจจะกลัว ไม่อยากอยู่ใกล้
กิจกรรมเดย์แคร์กับรักษ์ไทย ตอนประถมอาจจะหนักกว่าในเรื่องการตีตรา
มาตั้งแต่เด็ก จึงมีเครือข่าย แต่เพื่อนบางคนในกลุ่มอาจโดนเพื่อนล้อ
ด้วยภาวะสุขภาพ อย่างต้อยก็เคยโดน
กลุ่มเพื่อนที่พบกันเวลาทำา เพื่อนช่วงประถมล้ออยู่เหมือนกัน
กิจกรรมในโรงพยาบาล เมื่อ ไม่ให้กินน�้าแก้วเดียวกัน แต่ตอนนี้พอโตขึ้น
ย่างเข้าสู่วัยรุ่นเพื่อนกลุ่มนี้ ก็ยังเป็นเพื่อนกัน ตอนนั้นเราก็ไม่รู้
ยังพูดคุยกันมาอย่างต่อเนื่อง ว่าท�าไมถึงรังเกียจ ก็งอนกัน
โดยเริ่มแรกก็คุยเรื่องเพื่อน ตามประสาเด็ก”
เรื่องแฟน เรื่องครอบครัว
ต่อมาเห็นว่าน่าจะร่วมกันตั้งเป็นกลุ่มให้เป็นทางการมากขึ้น จึงได้ฟอร์มทีมโหวต
ชื่อกลุ่มออกมา ชื่อ “รักษ์ไทยเพาเวอร์ทีน” เพื่อเป็นกลุ่มที่ให้คำาปรึกษา ติดตาม
ส่งกำาลังใจซึ่งกันและกัน
ดูเหมือนว่ากระบวนการเข้าสู่วัยรุ่นของเยาวชนกลุ่มนี้มีเรื่องให้ต้องกังวลหลายด้าน
ไหนจะเปลี่ยนแผนกหาหมอจากเดิมอยู่แผนกเด็ก ที่มีพี่หมอพูดจาภาษาเด็ก ก็ต้อง
ก้าวไปสู่แผนกผู้ใหญ่ แม้จะกินยาตัวเดิมแต่ความเข้มงวดจะมีมากกว่า ห้องตรวจ
66 ผู้หญิงก้าวเดิน