Page 66 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 66
ทั้งคู่เริ่มรับยาต้านไวรัสเอชไอวีในช่วงอายุประมาณ 7-8 ปี ซึ่งในวัยขนาดนั้น
ญาติผู้ใหญ่ต้องเป็นคนดูแลเรื่องการกินยา เนื่องจากเป็นยาที่ต้องกินตรงเวลาทุกวัน
วันละสองครั้ง ต้องอาศัยวินัย
ในการกินไม่ให้ขาดตกบกพร่อง
ต้อยอยู่กับยาย เพราะพ่อ
“ช่วงที่ป่วยนั้นหมอก็ไม่ได้บอกตรง ๆ
1
ว่าเป็นอะไร พอเริ่มดีขึ้นก็มีทีมพยาบาล และแม่จากไปตั้งแต่เธอยังเล็ก
บอกกับเราว่าน้องเหมือนมีเลือดบวก ส่วนหลิวอยู่กับแม่เพียงลำาพัง
ตอนนั้นก็รู้สึกไม่ได้ชัดเจนว่ากลัวหรืออะไร
แต่จ�าได้ว่าร้องไห้เพราะยายร้อง เหมือนกับ การไปตรวจสุขภาพและ
เขาบอกว่ายายท�าใจนะ แล้วยายก็ร้องไห้ พบแพทย์บ่อย ๆ เป็นเรื่อง
เราก็เข้าใจได้ไม่ทั้งหมดถึงสิ่งที่พยาบาลบอก น่าเบื่อสำาหรับเด็กเป็นอย่างยิ่ง
ยายก็พอรู้อยู่แล้วเพราะพ่อแม่เสียด้วยโรคนี้ แต่ความรู้สึกนี้ผ่อนคลายลง
คือพ่อเสียตอนอายุไม่ถึงขวบ แม่เสียตอนอยู่
อนุบาลสอง ยายรับหน้าที่เป็นแม่แทน เมื่อได้พบกับพี่ ๆ รักษ์ไทย
ตอนนี้ยายก็ยังมีชีวิตอยู่ อายุ 76 ปี” ที่มาจัดกิจกรรมเดย์แคร์
ต้อยเล่าถึงนาทีที่ได้รู้ว่าตน ให้เด็กในระหว่างรอพบแพทย์
มีเชื้อเอชไอวี เด็กก็ได้มาทำากิจกรรมกลุ่ม
ย่อย ทำาสิ่งประดิษฐ์ วาดรูป
เล่นเกม รับแจกตุ๊กตา ได้มาเจอเพื่อนจากหลายหมู่บ้านที่มาคลินิกในวันเดียวกัน
พอโตขึ้นอีกหน่อย พี่ ๆ รักษ์ไทยก็จะคอยอธิบายว่า ยาที่กินคือยาอะไร ช่วยแนะนำา
ให้ความรู้เรื่องยาต้านไวรัสที่ได้รับ มีกิจกรรมช่วยอธิบายว่าเชื้อไวรัสเอชไอวีนี้จะทำาให้
ซีดี 4 ลดลง และเน้นยำ้าถึงความสำาคัญที่ต้องกินยาให้ตรงเวลาและต่อเนื่อง เป็นข้อมูล
ที่เพิ่มมากขึ้น นอกเหนือไปจากที่ญาติผู้ใหญ่เคยบอกว่ากินยานี้แล้วไม่ป่วย
1 ในจังหวัดพะเยา ช่วงปี 2536-2538 พบอัตราการติดเชื้อในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์สูงถึงร้อยละ 10 ทำาให้มีเด็กได้รับผลกระทบ
จากเอดส์อยู่ภายใต้การดูแลของญาติพี่น้องจำานวนเกือบสองพันคน รวมถึงเศรษฐกิจและรายได้ของครัวเรือนตกตำ่าลง
(ข้อมูลจากบทนำา ผู้หญิงติดเชื้อ: วิถีชีวิตที่แตกต่างแต่ไม่แตกต่าง. หน้า 7 มูลนิธิรักษ์ไทย, 2551)
64 ผู้หญิงก้าวเดิน