Page 133 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 133

๒) การให้ความช่วยเหลือระหว่างประสบภัยและหลังเกิดภัย
                                   (๑) การให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรหลังเกิดอุทกภัย ในช่วงเดือนสิงหาคม - ๓๐

             พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ได้ช่วยเหลือเกษตรกร ด้านพืช จ านวน ๗,๕๖๗ ราย พื้นที่ ๒๖,๕๑๑ ไร่ วงเงิน ๖๕.๐๘ ล้านบาท

             ด้านประมง จ านวน ๔,๖๔๓ ราย พื้นที่ ๕,๖๕๔ ไร่ วงเงิน ๓๓.๖๓ ล้านบาท และด้านปศุสัตว์ จ านวน ๔๕ ราย
             สัตว์ตาย/สูญหาย ๑๗๙,๓๗๗ ตัว วงเงิน ๐.๔๒ ล้านบาท ได้ตรวจเยี่ยมและติดตามสถานการณ์น้ าตามลุ่มน้ าชี

             และลุ่มน้ ามูล ณ จังหวัดอุบลราชธานี พร้อมทั้งเยี่ยมเยียนให้ก าลังใจก าลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่และศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัย

             และมอบถุงยังชีพและสิ่งของจ าเป็น น าเฮลิคอปเตอร์แบบ EC725 ขึ้นบินส ารวจและลาดตระเวนถ่ายภาพพื้นที่ประสบภัย
             น าอาหาร น้ าดื่ม ชุดยาสามัญประจ าบ้าน และเครื่องอุปโภคบริโภคไปมอบให้แก่ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่น้ าหลาก

             และน้ าท่วมขัง ตลอดจนช่วยฟื้นฟูภายหลังน้ าลด ฟื้นฟูให้สภาพพื้นที่สะอาด และกลับคืนสู่สภาวะปกติ นอกจากนี้
             ได้ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในเชิงป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ จ านวน

             ๑๗ จังหวัด และเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในอ านาจผู้ว่าราชการจังหวัด (๒๐ ล้านบาท) จ านวน
             ๖๒ จังหวัด
















                                     (๒) การแก้ไขปัญหาในระยะยาว ได้ด าเนินการตามมาตรการรับมือฤดูฝน ปี ๒๕๖๕ ตามมติ
             คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ประกอบด้วย ๑๓ มาตรการ ได้จัดเตรียมพื้นที่อพยพและซักซ้อม

             แผนเผชิญเหตุ ระดับต่าง ๆ โดยด าเนินการฝึกเตรียมความพร้อมของศูนย์บริหารจัดการน้ าส่วนหน้าในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย
             ในการรองรับสถานการณ์อุทกภัยในฤดูฝน ในรูปแบบฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะ (Table Top Exercise: TTX) และการเตรียม

             ความพร้อมด้านบุคลากร ทรัพยากร สถานที่ และสิ่งอ านวยความสะดวก ทบทวนและจัดท าแผนเผชิญเหตุภัยแล้ง/อุทกภัย

             ของจังหวัดให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับสถานการณ์ในพื้นที่ พร้อมทั้งด าเนินการตามกรอบแนวทางและค่าเป้าหมาย
             ของแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ า ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และบริหารจัดการทรัพยากรน้ า

             เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและบรรเทาปัญหาภัยแล้งและอุทกภัย

                                 ๓) การเตรียมความพร้อมในการป้องกัน/บรรเทาภาวะน้ าแล้ง ด าเนินการที่ส าคัญ เช่น
             ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง/ฝนแล้ง/ฝนทิ้งช่วง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ จ านวน ๓๒ จังหวัด และเงินช่วยเหลือ

             ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน จ านวน ๒ จังหวัด จัดท าโครงการจัดหาแหล่งน้ าบาดาล ประกอบด้วย (๑) จัดหา
             น้ าบาดาลเพื่อการอุปโภคบริโภค ด าเนินการแล้วเสร็จ จ านวน ๔๑๒ แห่ง (๒) จัดหาน้ าบาดาลเพื่อการเกษตร จ านวน

             ๖๒๑ แห่ง สามารถเพิ่มปริมาณน้ าต้นทุนไม่น้อยกว่า ๗๕.๒๑๘๗ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ประชาชนได้รับประโยชน์

             มากกว่า ๑๑๒,๐๖๖ ครัวเรือน ครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานมากกว่า ๙๖,๐๒๐ ไร่
             (๓) อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ าบาดาล โดยการก่อสร้างระบบเติมน้ าใต้ดินระดับตื้น จ านวน ๓๓๒ แห่ง สามารถเพิ่มเติม

             ปริมาณน้ าลงสู่ใต้ดินได้ประมาณ ๒.๒๖๓๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และ (๔) โครงการจัดหาน้ าบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหา



              รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
               รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
                                                                                                         129
              (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)                                                           ๑๒๙
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138