Page 130 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 130
และรถจักรยานยนต์เป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญา พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์และสภาพสังคมในปัจจุบัน
อาทิ แก้ไขปรับปรุงอัตราดอกเบี้ยเช่าซื้อ และการได้รับส่วนลดอัตราดอกเบี้ย เป็นต้น
๒) แก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่ออ านวยความสะดวกให้แก่ประชาชน
(๑) พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่ออ านวยความสะดวก
ให้แก่ประชาชน เอื้อต่อการน าวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์มาใช้อนุญาตการให้บริการ หรือการให้สวัสดิการแก่ประชาชน
ส่งเสริมให้การท างานและการให้บริการของภาครัฐสามารถใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลักได้ ส่งผลให้ช่วย
ลดภาระและต้นทุนของประชาชนในการติดต่อกับภาครัฐ และเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
และปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานและการบริการภาครัฐไปสู่ระบบดิจิทัล
ตรวจพิจารณาร่างกฎหมายเพื่อแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการอนุญาต
เพื่อให้สอดคล้องกับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ จ านวน ๑๗ ฉบับ โดยบางฉบับ
ได้เพิ่มเติมบทบัญญัติให้สามารถด าเนินการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ เช่น ร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล
รัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๗๕๕) พ.ศ. ๒๕๖๕ [มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการบริจาค
ด้านสาธารณสุข (เพิ่มเติม)] ร่างกฎกระทรวงการผลิตสุรา พ.ศ. .... ร่างกฎกระทรวงก าหนดวิธีปฏิบัติของเจ้าของ
เรือประมงที่ใช้สนับสนุนเรือที่ใช้ท าการประมงหรือเรือขนถ่ายสัตว์น้ า พ.ศ. .... และร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการจ่ายเงิน
จากกองทุนให้แก่สมาชิก หรือบุคคลซึ่งสมาชิกผู้ตายได้แสดงเจตนาไว้หรือทายาท (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เป็นต้น
(๒) พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่อเป็นกฎหมายกลาง
ในการพิจารณาและก าหนดมาตรการส าหรับผู้ที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่ไม่ใช่ความผิดร้ายแรง ซึ่งเป็น
การปฏิรูปกฎหมายครั้งส าคัญที่จะช่วยส่งเสริมความเป็นธรรม ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน ลดความเหลื่อมล้ า
ทางสังคมและเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย โดยก าหนดให้ใช้ “การปรับเป็นพินัย” เป็นมาตรการใหม่
แทนโทษเดิมที่เป็นการปรับทางอาญาและโทษทางปกครอง โดยก าหนดให้ผู้กระท าความผิดต้องช าระค่าปรับอย่างเดียว
ไม่มีการจ าคุกหรือกักขังแทนการปรับ และไม่มีการบันทึกลงในประวัติอาชญากรรม
๓) แก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่ออ านวยความยุติธรรม
๓.๑) พระราชบัญญัติก าหนดระยะเวลาการด าเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๕
โดยให้มีการก าหนดระยะเวลาด าเนินงานในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมที่ชัดเจน เพื่อให้ประชาชนได้รับ
ความยุติธรรมโดยไม่ล่าช้า เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบได้ว่าหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมจะพิจารณา
เรื่องที่อยู่ระหว่างการด าเนินงานเสร็จสิ้นเมื่อใด รวมทั้งตรวจสอบความคืบหน้า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ให้ประชาชน
ได้รับความยุติธรรมโดยสะดวกและรวดเร็ว
๓.๒) พระราชบัญญัติป้องกันการกระท าความผิดซ้ าในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้
ความรุนแรง พ.ศ. ๒๕๖๕ เนื่องจากผู้กระท าความผิดอาญาบางประเภทที่เกี่ยวข้องกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง เช่น
การข่มขืนกระท าช าเรา การกระท าความผิดทางเพศกับเด็ก การฆาตกรรม การท าร้ายจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
การท าร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้รับอันตรายสาหัส รวมทั้งการน าตัวบุคคลไปเรียกค่าไถ่ เมื่อถูกจ าคุกจนพ้นโทษ
และได้รับการปล่อยตัวสู่สังคมแล้ว ถึงแม้ว่าจะมีการติดตามจากเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจบ้างแต่ไม่มีสภาพ
บังคับเป็นกฎหมายและไม่มีประสิทธิผลในการป้องกันการกระท าความผิดซ้ า ผู้กระท าความผิดเหล่านี้ส่วนหนึ่งยังมี
แนวโน้มที่จะกระท าความผิดในรูปแบบเดียวกันหรือรูปแบบใกล้เคียงกันซ้ าอีก จึงได้ก าหนดมาตรการป้องกันการกระท า
รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
126 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)
๑๒๖