Page 125 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 125

๘.๘ นโยบายเร่งด่วนที่ ๘ การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั้งฝ่ายการเมือง
             และฝ่ายราชการประจ า

                       ๘.๘.๑ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในระบบราชการ

                               ๑) ป้องกันการฟอกเงิน ได้ด าเนินการที่ส าคัญ เช่น (๑) รับเรื่องราวร้องเรียน ร้องทุกข์ แจ้งเบาะแส
             การกระท าความผิดเกี่ยวกับการฟอกเงิน และการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ผ่านศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์

             และ “สายด่วน ปปง. ๑๗๑๐” โดยมีการรับเรื่องฯ จ านวน ๕๑๔ เรื่อง เป็นการรับเรื่องฯ เกี่ยวกับมูลฐานทุจริต

             ต่อต าแหน่งหน้าที่ ม.๓ (๕) แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ จ านวน
             ๔๐ เรื่อง (๒) จัดท าบันทึกความเข้าใจหรือบันทึกข้อตกลง เพื่อประโยชน์ในการประสานงานและการด าเนินคดี

             ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินกับหน่วยงานภายในประเทศ จ านวน ๔๔ ฉบับ
             และกับหน่วยงานต่างประเทศ จ านวน ๕๕ ฉบับ โดยที่ผ่านมาได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานต่างประเทศ

             ท าให้สามารถด าเนินการยึดทรัพย์สินคดีทุจริตในบัญชีธนาคารสิงคโปร์ จ านวน ๕๐๐,๐๐๐ ดอลลาร์สิงคโปร์
             ได้เป็นผลส าเร็จ โดยอยู่ระหว่างการเจรจาเพื่อติดตามทรัพย์สินคืนกลับสู่ประเทศไทย (๓) ส่งเสริมและประสาน

             ความร่วมมือกับภาคประชาชนในการด าเนินการตามพระราชบัญญัติฯ เช่น โครงการสายลับ ปปง. จ านวน ๗๕,๔๕๓ คน

             เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารในการสอบสวนด าเนินคดีกับผู้กระท าความผิด นอกจากนี้ ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย
             ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุน

             ทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูงเพื่อให้ประชาชน มีความรู้

             ความเข้าใจ ตระหนักรู้ถึงพิษภัยของการฟอกเงิน และมีส่วนร่วมในการแจ้งเบาะแสผู้กระท าความผิดด้วย
                               ๒) สมัครเข้าเป็นสมาชิกของคณะท างานเฉพาะกิจเพื่อด าเนินมาตรการทางการเงิน

             (Financial Action Task Force: FATF) เพื่อยกระดับบทบาทการท างานด้าน AML/CFT ของประเทศไทยในเวที

              ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทในการก าหนดนโยบาย/มาตรการในระดับสากล ซึ่งส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี
              ของประเทศไทยในฐานะประเทศที่มีการด าเนินงานตามมาตรฐานสากล อีกทั้งเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็ง

              ของระบบการเงินของไทย และสร้างความน่าเชื่อถือด้านการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ รวมทั้งเป็นช่องทางในการเพิ่ม
              ความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่ดีระหว่างกันในด้าน AML/CFT

                               ๓) ประเมินความเสี่ยงด้านการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย

              และการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูงของประเทศไทย โดยน าผลจากการประเมินความเสี่ยงด้านการฟอกเงิน
              และการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง (Money

              Laundering, Terrorism Financing and Proliferation Financing: ML/TF/TF) ของประเทศไทย ฉบับปี ๒๕๖๕
              ที่ระบุว่าการทุจริตและประพฤติมิชอบเป็นความเสี่ยงสูงสุดในการฟอกเงิน และควรมีการเฝ้าระวังการท าธุรกรรม

              ที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตอย่างใกล้ชิด และนโยบายรัฐบาล มาจัดท ายุทธศาสตร์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้านการป้องกัน

              และปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (Anti-Money Laundering
              and Combating the. Financing of Terrorism: AML/CFT) ได้อย่างเหมาะสม และจัดท ายุทธศาสตร์ด้านการป้องกัน

              และปราบปรามการฟอกเงิน และการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

              เพื่อใช้เป็นแนวทางในการด าเนินงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเพื่อให้การด าเนินการด้าน AML/CFT
              ของประเทศไทยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายรัฐบาล



               รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
               รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
                                                                                                         121
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)                                                          ๑๒๑
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130