Page 126 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 126

และมาตรฐานสากล รวมถึงสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ เพื่อพร้อมรับมือกับความเสี่ยง
           และภัยคุกคามจากอาชญากรรมการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธ

           ที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง โดยยุทธศาสตร์ด้าน AML/CFT พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ เน้นให้ความส าคัญกับการด าเนินมาตรการ

           เชิงป้องกัน การท างานเชิงรุก และบูรณาการการท างานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการน านวัตกรรม
           และเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการด าเนินงาน ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์ด้าน AML/CFT ได้ผ่านความเห็นชอบ

           จากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๕
                     ๘.๘.๒ การปราบปรามและการด าเนินการตรวจสอบ สืบสวน สอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน

           เพื่อด าเนินการกับทรัพย์สินผู้กระท าความผิด เกี่ยวกับการฟอกเงิน

                             ๑) ออกค าสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สิน จ านวน ๔๒ ค าสั่ง ๓๔ รายคดี มูลค่าทรัพย์สิน
           ๖,๐๓๑,๙๗๘,๓๕๗.๙๑ บาท คุ้มครองสิทธิผู้เสียหาย จ านวน ๓๕ เรื่อง มูลค่าทรัพย์สิน ๑,๒๒๑,๗๑๙,๗๓๔.๓๘ บาท

           และด าเนินการเกี่ยวข้องกับมูลฐานทุจริตต่อต าแหน่งหน้าที่ตามมาตรา ๓ (๕) แห่งพระราชบัญญัติฯ โดยออกค าสั่ง
           มอบหมายพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบธุรกรรมหรือทรัพย์สิน จ านวน ๓๔ ค าสั่ง และออกค าสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สิน

           จ านวน ๒ ค าสั่ง ๑ รายคดี มูลค่าทรัพย์สิน ๗,๐๖๕,๕๗๙.๓๙ บาท

                            ๒) น าส่งทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระท าความผิดเป็นของแผ่นดิน จ านวน ๙๗๙ รายการ
           มูลค่าทรัพย์สิน ๔,๑๒๙,๓๐๒,๖๖๘.๑๕ บาท

                           ๓) แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๕

           ในส่วนของการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในความผิดมูลฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
           การก าหนดการคุ้มครองสิทธิผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์สิน และการก าหนดกระบวนการด าเนินการบังคับคดีกับทรัพย์สิน

           ที่เกี่ยวกับการกระท าความผิดซึ่งถูกรวมเข้ากับทรัพย์สินอื่น

                     ๘.๘.๓ การน าเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการเฝ้าระวังการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างจริงจัง
           โดยพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปราบปรามการฟอกเงิน เช่น จัดท าระบบบริการบนเว็บไซต์

           เพื่อตรวจสอบรายชื่อบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงด้านการฟอกเงินและรายชื่อบุคคลที่ถูกก าหนด จ านวน ๓๑ รายการ
           พัฒนาระบบบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐของส านักงาน ปปง. (AMLink Center)

           โดยเชื่อมโยงระบบบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ (Linkage Center) จ านวน ๑๓ หน่วยงาน

           ๒๒ ฐานข้อมูล เพื่อลดการขอเอกสารจากประชาชนที่ซ้ าซ้อน และพัฒนาระบบคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายเพื่อรองรับ
           การด าเนินการยื่นค าร้องขอคุ้มครองสิทธิจากการกระท าความผิดมูลฐานของผู้เสียหาย โดยมีรายคดีที่เปิดรับค าร้อง

           การคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายผ่านระบบดังกล่าว จ านวน ๑๐ รายคดี และมีผู้เสียหายยื่นค าร้องผ่านระบบ จ านวน
           ๒๓,๖๗๑ ราย

                     ๘.๘.๔ ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ประจ าปี ๒๕๖๕ ที่จัดท า

           โดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI) มีประเทศที่ถูกจัดอันดับทั้งสิ้น
           ๑๘๐ ประเทศ โดยประเทศไทยได้คะแนนเพิ่มขึ้นเป็น ๓๖ คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ ๑๐๑ ของโลก ดีขึ้นจากปี ๒๕๖๔

           ซึ่งมีประเทศที่ถูกจัดอันดับทั้งสิ้น ๑๘๐ ประเทศ โดยประเทศไทยได้คะแนน ๓๕ คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ ๑๑๐

           ของโลก




                                รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
             รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
           122                                                            (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
             (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)
                                                                                                     ๑๒๒
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131