Page 55 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 55

ตารางเเสดงการส่งเสริมการลงทุนในกิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า

                                                                                       มูลค่าเงินลงทุน
                         การส่งเสริมการลงทุนในกิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า
                                                                               (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน)

               การผลิต Hybrid Electric Vehicle (HEV) จ านวน ๗ โครงการ                 ๓๘,๖๒๔ ล้านบาท

               การผลิต Plug-in Hybrid Electric Vehicle (PHEV) จ านวน ๘ โครงการ        ๑๑,๖๑๙ ล้านบาท
               ผลิต Battery Electric Vehicle (BEV) จ านวน ๑๕ โครงการ                  ๑๑,๖๑๙ ล้านบาท

               การผลิต Battery Electric Bus จ านวน ๒ โครงการ                          ๒,๑๗๔ ล้านบาท


                                    รวมก าลังการผลิตยานยนต์ที่ได้รับอนุมัติ จ านวน ๘๓๘,๗๗๕ คัน ทั้งนี้ คณะกรรมการ
             ส่งเสริมการลงทุนได้ออกบัตรส่งเสริมแล้ว จ านวน ๑๗ โครงการ และมีแบรนด์ที่ผลิตเชิงพาณิชย์แล้ว จ านวน ๑๑ แบรนด์

              นอกจากนี้ ยังอนุมัติการส่งเสริมในกิจการผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับยานพาหนะไฟฟ้าแล้ว จ านวน
              ๓๖ โครงการ มูลค่าเงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) ๑๘,๓๕๘ ล้านบาท รวมถึงกิจการสถานีบริการ

              อัดประจุไฟฟ้าส าหรับยานพาหนะไฟฟ้า (Charging Station) จ านวน ๕ โครงการ มูลค่าเงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดิน
              และทุนหมุนเวียน) ๒,๑๗๕ ล้านบาท รวมจ านวน ๙,๐๓๖ หัวจ่าย (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๕)

                                 (๓) ผลักดันการส่งเสริมกลไกเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยให้ความส าคัญกับ

             การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น จัดท ามาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับยานยนต์ไฟฟ้าและสถานีอัดประจุไฟฟ้ารวมทั้งสิ้น
             ๑๒๒ เรื่อง จากแผนการจัดท าทั้งหมด ๑๓๘ เรื่อง (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม ๒๕๖๕) และได้ส่งเสริมให้เกิดการวิจัย

             และพัฒนา โดยการสร้างศูนย์ทดสอบยานยนต์และยางล้อแห่งชาติ รวมทั้งศูนย์ทดสอบและรับรองแบตเตอรี่ส าหรับ

             ยานยนต์ไฟฟ้าตามมาตรฐานสากลตั้งอยู่ในบริเวณศูนย์ทดสอบยานยนต์และยางล้อแห่งชาติ (Automotive and Tyre
             Testing, Research and Innovation Center: ATTRIC) จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นศูนย์ทดสอบแห่งแรกในอาเซียน

                       ๗.๕.๓ การพัฒนาภาคเกษตร

                               ๑) ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตที่เหมาะสม และไม่ก่อให้เกิดภาระทางการเงินการคลัง
             ของภาครัฐ เช่น จัดให้มีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มรายได้และลดต้นทุนการเกษตรครบวงจร เช่น จัดหา

             แม่พันธุ์พืชพันธุ์ดี จ านวน ๕๗,๕๐๙ ต้น ผลิตพันธุ์สัตว์พันธุ์ดี จ านวน ๐.๑๑ ล้านตัว พัฒนาทรัพยากรดิน เช่น พัฒนา
             คุณภาพดินตามปัญหาดินให้เหมาะสมในการท าเกษตรกรรม จ านวน ๑๕๐ ไร่ ยกระดับการพัฒนาหมอดินอาสาให้มีส่วนร่วม

             และต่อยอดศูนย์ปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน จ านวน ๙,๙๙๓ ราย พัฒนาแหล่งน้ า เช่น ขุดสระน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน

             จ านวน ๗๘ บ่อ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โดยส่งเสริมและพัฒนาเกษตรแปลงใหญ่ จ านวน ๙ แปลง
              ยกระดับและส่งเสริมมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)/หลักเกณฑ์วิธีการที่ดี

              ในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice: GMP) ฝึกอบรมการจัดท าบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร















               รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
               รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
                                                                                                           51
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)                                                            ๕๑
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60