Page 63 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 63

ในอนาคต และท าให้ประเทศบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปี ค.ศ. ๒๐๕๐
             ด าเนินโครงการโซล่าร์ภาคประชาชน ได้สนับสนุนกลุ่มบ้านอยู่อาศัย และกลุ่มโรงเรียน สถานศึกษา โรงพยาบาล

             และสูบน้ าเพื่อการเกษตร ผลิตไฟฟ้าใช้เอง รวมทั้งเปิดรับซื้อไฟฟ้าส่วนที่เหลือใช้เข้าระบบการไฟฟ้าฝ่ายจ าหน่าย

             กลุ่มละ ๑๐ เมกะวัตต์ ซึ่งการรับซื้อปี ๒๕๖๕ ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายไฟฟ้าแล้วรวม ๓,๔๗๖ ราย ก าลังการผลิตติดตั้ง
             ๑๙,๗๕๕ kWp

                              ๔) ยกระดับโครงข่ายระบบไฟฟ้าและพลังงานให้มีความทันสมัย ทั่วถึง เพียงพอ มั่นคง
             และมีเสถียรภาพ ได้ด าเนินการ เช่น โครงการ Smart Metro Grid (ระบบโครงข่ายอัจฉริยะในพื้นที่

             กรุงเทพมหานคร) ด าเนินการในพื้นที่น าร่องบริเวณถนนพระราม ๔ พญาไท เพชรบุรี และรัชดาภิเษก ซึ่งได้ติดตั้ง

             มาตรอัจฉริยะ (Smart Meter) แล้ว จ านวน ๓๓,๒๑๔ ชุด จากทั้งหมด ๓๓,๒๖๕ ชุด และการด าเนินงานในส่วน
             Software ของระบบ ผ่านการทดสอบ Site Acceptance Test (SAT) เรียบร้อยแล้ว การส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้า

             และสถานีอัดประจุไฟฟ้า เช่น ส่งเสริมการพัฒนาโครงข่ายสถานีอัดประจุไฟฟ้า โดยติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า
             สาธารณะในประเทศแล้ว จ านวน ๑,๒๑๒ สถานี รวม ๓,๖๔๑ หัวจ่าย รวมทั้งมีการส่งเสริมแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้า

             ซึ่งอยู่ระหว่างเสนอแผนปฏิบัติการการส่งเสริมอุตสาหกรรมระบบกักเก็บพลังงานประเภทแบตเตอรี่ของไทย

             ต่อคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
                              ๕) พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ าประปา ได้ด าเนินโครงการขยายเขตบริการให้เต็มพื้นที่

             ทั่วชุมชนเมือง โดยการประปานครหลวงอยู่ระหว่างการก่อสร้างวางท่อประปาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ระยะทางสะสม

             เดือนสิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๕ จ านวน ๒๖.๓๙ กิโลเมตร และในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้ก าหนด
             ค่าเป้าหมายวางท่อประปาใหม่ไม่ต่ ากว่า ๗๐ กิโลเมตร โดยมีผลการด าเนินงานเดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕

             เป็นระยะทางสะสม ๖.๑๔๒ กิโลเมตร ขณะที่การประปาส่วนภูมิภาค ให้บริการน้ าประปาลูกค้าเพิ่มขึ้น ๒๑๘,๘๑๕ ราย

             (มาตรวัดน้ า) มีลูกค้ารวม ๕,๑๒๕,๓๓๕ ราย (มาตรวัดน้ า) ความยาวท่อจ่ายน้ ารวม ๑๕๑,๗๙๙ กิโลเมตร
             ก าลังการผลิตรวม ๖.๘๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ปริมาณน้ าจ าหน่ายรวม ๑,๓๕๕ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี

                              ๖) แก้ปัญหาระบบระบายน้ าและระบบบ าบัดน้ าเสีย ได้ด าเนินโครงการก่อสร้างศูนย์บริหาร
             จัดการคุณภาพน้ า จ านวน ๗ แห่ง โครงการก่อสร้างและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการคุณภาพน้ า จ านวน ๕ แห่ง

             การบริหารจัดการระบบบ าบัดน้ าเสียชุมชน โดยแบ่งออกเป็นระบบ

             บ าบัดน้ าเสียชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ านวน ๒๙ แห่ง
             และศูนย์บริหารจัดการคุณภาพน้ าที่ก่อสร้างโดยองค์การจัดการน้ าเสีย

             จ านวน ๒๐ แห่ง รวมทั้งสิ้น ๔๙ แห่ง มีปริมาณน้ าเสียที่บ าบัดได้สะสม
             เท่ากับ ๘๔,๗๓๙,๒๘๑ ลูกบาศก์เมตร และสามารถน าน้ าที่ผ่านการบ าบัด

             ได้คุณภาพตามมาตรฐานน ากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่เท่ากับ ๑,๐๙๐,๐๐๐

             ลูกบาศก์เมตร และโครงการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมความรู้ด้านการจัดการ
             น้ าเสีย ในการติดตั้งถังดักไขมันเพื่อช่วยลดความสกปรกของน้ าทิ้ง

             ณ แหล่งก าเนิดก่อนระบายลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ







              รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
               รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
                                                                                                          59
              (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)                                                            ๕๙
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68