Page 82 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 82

ตัวชี้วัดที่ 19 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD)
           ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต

           ตัวชี้วัด           ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
                               (CKD) ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต

           ค�านิยาม            ผู้ป่วยเบาหวาน หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน และได้รับ
                               การขึ้นทะเบียน/ผู้ป่วยโรคเบาหวานอาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด
                               การตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต หมายถึง ผู้ป่วยเบาหวานที่รับการตรวจภาวะ
                               แทรกซ้อนทางไต โดยการตรวจโปรตีนในปัสสาวะ (urine protein) และตรวจเลือด
                               วัดค่าครีเอตินินในเลือด (serum creatinine) อย่างน้อย 1 ครั้งในปีงบประมาณ
                               ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งในสองข้อ
                               ต่อไปนี้
                               1. ผู้ป่วยที่มีภาวะไตผิดปกตินานติดต่อกันเกิน 3 เดือน ทั้งนี้ผู้ป่วยอาจจะมีอัตรา
                               การกรองของไต (Glomerular filtration rate, GFR) ผิดปกติหรือไม่ก็ได้
                               2. ผู้ป่วยที่มี GFR น้อยกว่า 60 ml/min/1.73 m  ติดต่อกันเกิน 3 เดือน โดยที่อาจ
                                                                   2
                               จะตรวจพบหรือไม่พบว่ามีร่องรอยของไตผิดปกติก็ได้
                               หมายเหตุ :
                                - ผู้ป่วยเบาหวานจะถือว่าได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต ก็ต่อเมื่อได้รับการ
                               ตรวจทั้ง urine protein และ serum creatinine อย่างน้อย 1 ครั้งใน
                               ปีงบประมาณเดียวกัน โดยไม่ระบุเวลาระหว่างการตรวจปัสสาวะและเลือด
                                - การตรวจ urine protein อาจตรวจด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังนี้ คือ
                                (1) urine albumin-to-creatinine ratio (ACR) รหัส 0440206
                                (2) urine protein-to-creatinine ratio (UPCR) รหัส 0440205
                                (3) microalbuminuria รหัส 0440204
                                (4) macroalbuminuria รหัส 0440203
                                - ผู้ป่วยที่มีผลปกติ คือมีผลการตรวจ ดังนี้
                                (1) ACR < 30 mg/g หรือ
                                (2) UPCR < 150 mg/g หรือ
                                (3) Microalbuminuria เป็น 0 หรือ 1 หรือ
                                (4) Macroalbuminuria เป็น 0 หรือ 1 หรือ
                                (5) eGFR ≥60 ml/min/1.73 m 2
                                -ผู้ป่วยที่มีผลผิดปกติและรอการยืนยันว่าเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง คือมีผลการตรวจ

                               ดังนี้
                                (1) ACR ≥ 30 mg/g หรือ
                                (2) UPCR ≥ 150 mg/g หรือ
                                (3) Microalbuminuria เป็น 2 หรือ
                                (4) Macroalbuminuria เป็น 2 หรือ
                                (5) eGFR < 60 ml/min/1.73 m 2

           เกณฑ์เป้าหมาย       มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60
           ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยที่ได้รับการขึ้นทะเบียนโรคเบาหวาน และผู้ป่วยโรคเบาหวานอาศัยอยู่ในพื้นที่
                               รับผิดชอบที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD) ทั้งหมด



   NCD       70   ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87