Page 58 - รายงานประจำปี 2566
P. 58
บร่ิษัท คุ้มภัยั่โตเกั่ยั่วม�ร่ีนปร่ะกัันภัยั่ (ปร่ะเทศไทยั่) จำ�กััดั (มห้�ชี่น)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท คุ้มภัยโตเกียวมารีนประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)
สำาหรับปีสิ�นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566
5 การจัดการความเสี�ยงทางการเงินและประกันภัย
การบริหารความเสี�ยงเป็นส่วนหนึ�งของระบบการควบคุมภายในของการดําเนินธุรกิจของบริษัท เนื�องจากบริษัทเป็น
หนึ�งในสมาชิกของกลุ่มโตเกียวมารีน ("กลุ่มโตเกียวมารีน") บริษัทจึงคํานึงถึงปรัชญาการบริหารจัดการความเสี�ยงและ
กลยุทธ์ทางธุรกิจของกลุ่มโตเกียวมารีน เพื�อใช้ในการบริหารจัดการความเสี�ยงของบริษัท กรอบการบริหารความเสี�ยง
อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของคณะกรรมการบริษัทที�ให้ความสําคัญต่อประสิทธิภาพของกระบวนการบริหารความเสี�ยง
ซึ�งเป็นส่วนหนึ�งของการดําเนินธุรกิจที�ดีในการดูแลทรัพย์สินและการลงทุนของบริษัทเพื�อปกป้องผลประโยชน์ของ
ผู้ถือกรมธรรม์และผู้ถือหุ้น
บริษัทบริหารจัดการและควบคุมกระบวนการบริหารจัดการความเสี�ยง ซึ�งมีแผนงานและการดําเนินงานให้เป็นไปตาม
แผนธุรกิจ 3 ปีโดยคํานึงถึงสภาพแวดล้อมของอุตสาหกรรมในประเทศไทย ความต้องการของตลาด ขนาดและ
ความสามารถของธุรกิจ ข้อตกลงร่วมกันของผู้บริหาร โอกาสและผลกระทบที�จะเกิดความเสี�ยง และต้นทุนค่าใช้จ่าย
ซึ�งเป็นไปตามหลักการกํากับดูแล การให้คําแนะนําและความต้องการในการบริหารความเสี�ยงในกระบวนการบริหาร
ความเสี�ยง
คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงประกอบด้วยประธานและเจ้าหน้าที�บริหารอาวุโส ทําหน้าที�ในการช่วยคณะกรรมการ
บริษัทระบุชนิดและประเภทของความเสี�ยงที�แตกต่างและจัดความเสี�ยงดังกล่าวเป็นกลุ่มตามลักษณะความเสี�ยงที�
สัมพันธ์กัน ซึ�งรวมถึงการจัดการที�เหมาะสมสําหรับบริหารจัดการเหตุการณ์วิกฤติและแผนการดําเนินการธุรกิจต่อเนื�อง
คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงมีหน้าที�ในการกําหนดนโยบายการบริหารความเสี�ยงที�เหมาะสมและแนวทางการ
ดําเนินการ ตลอดจนประเมินความเพียงพอและประสิทธิภาพในการบริหารความเสี�ยงของบริษัท เพื�อให้ความเห็นและ
ข้อเสนอแนะที�จําเป็นสําหรับการจัดการความเสี�ยงเหล่านั�น
ความเสี�ยงหลักของบริษัทประกอบด้วย
(ก) ความเสี�ยงด้านการรับประกันภัย
ความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�นจากการไม่บรรลุตามเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ที�วางไว้ ขาดการวางแผนและการศึกษา
ที�เพียงพอ ความล่าช้าของการตอบสนองต่อการเปลี�ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ขาดการควบคุม
เครดิต การจัดการค่าสินไหมทดแทนและเงินสํารองที�ไม่เหมาะสม การพิจารณารับประกันภัยที�ไม่มีประสิทธิภาพ
และการเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติขนาดใหญ่ ความไม่แน่นอนอันเนื�องจากเหตุการณ์ที�เกิดขึ�น จํานวนเงินและ
ระยะเวลาของหนี�สินจากการประกันภัย อัตราการเสียชีวิต เจ็บป่วย และการคงอยู่ที�ต่างไปจากอดีต ตลอดจนการ
ไม่สามารถชําระค่าสินไหมทดแทนและความไม่มั�นคงในฐานะการเงินของบริษัทรับประกันภัยต่อ
(ข) ความเสี�ยงด้านการลงทุน
ความเสี�ยงที�เกิดขึ�นจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจและเปลี�ยนแปลงอัตราดอกเบี�ยในตลาดทําให้รายได้จากการ
ลงทุนไม่เป็นไปตามเป้าหมายที�ตั�งไว้
27
58 | รายงานประจำาปี 2566 | ANNUAL REPORT 2023