Page 19 - ABB in brief Q1|2021
P. 19
01l2021 ศูนย์ข้อมูลจะสำมำรถลดปริมำณกำรใช้พลังงำนได้อย่ำงไร 19
เมื่อ ABB ก้าวเข้าสู่ธุรกิจศูนย์ข้อมูลเมื่อ 25 ปีก่อน ปัจจัยอื่นๆ ก็มีส่วนช่วยในการควบคุมการใช้พลังงาน
ปัจจัยหลักๆ ที่ขับเคลื่อนตลาดคือ ช่วงเวลาการให้บริการ ของศูนย์ข้อมูลเช่นกัน เช่น เซิร์ฟเวอร์ ฮาร์ดดิสก์ส�าหรับ
เข้าถึงข้อมูลบนเซิร์ฟเวอร์ได้ไม่ขัดข้อง (uptime) และความ เก็บข้อมูลและโครงสร้างพื้นฐานเองก็มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
เชื่อถือได้ของระบบ (reliability) อย่างไรก็ตาม หลังจากนั้น อย่างมั่นคง นอกจากนั้น อุตสาหกรรมนี้ยังได้ประโยชน์จาก
เพียงไม่นานทุกฝ่ายก็หันมาสนใจปริมาณความต้องการใช้ แนวโน้มที่มุ่งไปสู่การเก็บข้อมูลบนคลาวด์ (ผ่านอินเทอร์เน็ต)
พลังงานเป็นอันดับแรก เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 ส�านักงาน และศูนย์ขนาดมหึมาที่มีขนาดใหญ่กว่าเดิมและมีประสิทธิภาพ
ปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐอเมริกาได้เผยแพร่รายงานที่ส�าคัญ มากกว่าเดิม ในส่วนถัดมาจากข้อมูลขององค์กรพลังงาน
กับรัฐสภาเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการใช้พลังงานอย่าง ระหว่างประเทศ ศูนย์ขนาดใหญ่ใช้พลังงานในการท�า
มีประสิทธิภาพของเซิร์ฟเวอร์และศูนย์ข้อมูล [1] ความไม่ ความเย็นน้อยกว่ามากเมื่อเทียบกับศูนย์ขนาดเล็กกว่า
แม่นย�าเกี่ยวกับการคาดการณ์ปริมาณการใช้พลังงานใน และจากสถิติล่าสุด แสดงให้เห็นถึงสัดส่วนที่เติบโตขึ้น
ศูนย์ข้อมูล -> รูปที่ 1 ส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าอุตสาหกรรมนี้ อย่างสม�่าเสมอของข้อมูลจราจรทั้งหมด อย่างไรก็ตาม
ได้กลายเป็นผู้บริโภคพลังงานที่ไม่มีวันพอ โชคดีที่ความคิดนี้ ความพยายามที่จะให้มีประสิทธิภาพสูงสุดขีดพบใน
ท้ายที่สุดกลับกลายเป็นเรื่องที่ห่างไกลจากความเป็นจริงมาก ศูนย์ข้อมูลทันสมัยของบริษัทขนาดใหญ่ที่ใช้งานหลักผ่าน
เว็บนั้น มักเป็นไปไม่ได้ในทางเทคนิคหรือใช้งบมหาศาล
จริงๆ แล้วจากข้อมูลรายงานการใช้พลังงานของศูนย์ ส�าหรับบริษัทเหล่านี้ พลังงานทุกๆ วัตต์มีค่าเสมอ ถ้าเช่นนั้น
Dave Sterlace
ABB Data Center Solution ข้อมูลในสหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ. 2016 [2] วิธีใดกันที่จะสามารถท�าได้ในระยะเวลาอันสั้นเพื่อให้เกิด
ฟิลาเดลเฟีย, เพนซิลเวเนีย ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าโดยรวมของทุกศูนย์ข้อมูล ประโยชน์ในทันที และท�าให้ประหยัดค่าไฟได้อย่างมีนัย
สหรัฐอเมริกา
dave.sterlace@us.abb.com ทั่วอเมริกาเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา จาก 70 ส�าคัญ?
พันล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงในปี ค.ศ. 2014 (เทียบได้ประมาณ
1.8 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาณการใช้ไฟฟ้ารวมทั่วประเทศ) การวัดประสิทธิภาพ
เป็นประมาณ 73 พันล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงในปี ค.ศ. 2020 เป็นเวลาหลายปีที่ผู้ประกอบการศูนย์ข้อมูลพยายามลด
ยิ่งไปกว่านั้น ความต้องการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้นเพียงเศษ ค่าประสิทธิผลการใช้พลังงาน PUE (power usage effective-
เสี้ยวในทางสถิติ ซึ่งจะถือได้ว่าค่อนข้างคงที่อยู่ที่ประมาณ ness) ซึ่งแสดงความคุ้มค่าของการใช้พลังงานไฟฟ้าของศูนย์
2 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณการใช้ไฟฟ้ารวมทั่วประเทศอเมริกา ข้อมูล โดยสรุปแล้ว PUE หาได้จากปริมาณการใช้พลังงาน
เกิดขึ้นภายใต้บริบทที่มีการเพิ่มจ�านวนอย่างรวดเร็วของอุปกรณ์ ไฟฟ้าทั้งหมดหารด้วยการใช้พลังงานไฟฟ้าของอุปกรณ์ไอที
อัจฉริยะต่างๆ และการขยายตัวของวัฒนธรรมออนไลน์จน และนั่นหมายถึงยิ่งค่า PUE ต�่ายิ่งดี เพราะแสดงให้เห็นว่า
แทบเรียกได้ว่าแพร่หลายไปทั่ว พลังงานไฟฟ้าที่จ่ายมาทั้งหมดถูกน�าไปใช้ในอุปกรณ์ไอทีใน
สัดส่วนที่สูง (แทนที่จะเสียไปกับอุปกรณ์อื่นที่ไม่ใช่ภารกิจ
ปัจจัยที่ช่วยให้บรรลุผลต่างๆ เหล่านี้ได้ เกิดจากสิ่งที่ หลัก เช่น เครื่องปรับอากาศ หรือเครื่องส�ารองไฟฟ้าแบบ
สมเหตุสมผลซึ่งได้ประโยชน์โดยเร็ว ได้แก่ การใช้งาน ต่อเนื่อง (UPS)) และนั่นแสดงความคุ้มค่าของการใช้พลังงาน
ศูนย์ข้อมูลที่อุณหภูมิสูงขึ้นกว่าเดิม (ลดพลังงานในการท�า
ความเย็นที่ไม่จ�าเป็น) ใช้การจ�าลองเสมือนจริง (ใช้เครื่อง
สมรรถนะสูงเครื่องเดียว ค�านวณ-ประมวลผลการท�างาน ปริมำณกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำโดยรวมของ
ของเครื่องลูกข่ายอื่นๆ ทั้งหมด แล้วส่งผลลัพธ์ไปแสดงผลที่ ทุกศูนย์ข้อมูลทั่วอเมริกำเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย
เครื่องลูกข่าย ‘เสมือนว่า’ เครื่องลูกข่ายท�าการประมวลผลเอง)
เพื่อลดจ�านวนเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้งานได้ไม่เต็มความสามารถ ในช่วง 6 ปีที่ผ่ำนมำ ถึงแม้ว่ำอุปกรณ์
การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบส�ารองไฟฟ้าแบบต่อเนื่อง อัจฉริยะและโลกออนไลน์จะเติบโตขึ้นอย่ำงมำก
(UPS) และการใช้ไดซ์แบบควบคุมความถี่เปรียบเทียบกับ
แดมเปอร์ (แผ่นปรับปริมาณลมในระบบท่อลมต่างๆ เพื่อ
ท�าหน้าที่ปิดกั้นอากาศในระบบปรับอากาศไม่ให้ไปยังบริเวณ
ที่ไม่มีการใช้งาน) เพื่อควบคุมการใช้พลังงานของพัดลม