Page 27 - ABB in brief Q1|2021
P. 27
01l2021 หุ่นยนต์ ABB ช่วยปูทำงให้เกิดกำรขนส่งอย่ำงยั่งยืน 27
ความท้าทาย:
การออกแบบโรงงานเชื่อมด้วยเลเซอร์และการประกอบ
ชิ้นส่วนที่มีความปลอดภัยและมีความแม่นย�าสูงส�าหรับการ
ผลิตระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าส�าหรับยานยนต์ ซึ่งต้องใช้
ความพิถีพิถันเป็นพิเศษ
แนวทางการแก้ไขของเอบีบี:
ABB ใช้ความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีอัตโนมัติ
เพื่อก่อตั้งโรงงานแห่งอนาคต อีกทั้งยังได้ใช้ประโยชน์จาก
โปรแกรม RobotStudio® ซึ่งสามารถจ�าลองแปลนสายการ
ผลิตและเขียนค�าสั่งควบคุมหุ่นยนต์บนเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยที่ไม่ต้องทดลองบริเวณสายการผลิตจริง โรงงานที่เมือง
บาเดนได้รับการติดตั้งหุ่นยนต์ที่มีสมรรถนะสูง ซึ่งสามารถ
ประกอบและเชื่อมชิ้นงานได้อย่างแม่นย�า ท�าให้มั่นใจได้ว่า
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะมีคุณภาพสูงโดยลดการใช้พนักงานส�าหรับ
งานที่จ�าเป็นต้องใช้ความละเอียดสูงให้เหลือน้อยที่สุด
เทคโนโลยีที่น�ามาใช้:
หุ่นยนต์ IRB 4600 จะท�าหน้าที่ในการวางเซลล์แบตเตอรี่
ลงในโมดูลหลัก ในขณะที่หุ่นยนต์ IRB 6620 จะเชื่อมเซลล์
เหล่านั้นเข้าด้วยกันเพื่อสร้างแพ็กแบตเตอรี่โดยใช้การเชื่อม
ด้วยเลเซอร์
หน้าที่หลักของโรงงานผลิตนี้ คือ เป็นโรงเชื่อมด้วยเลเซอร์
และประกอบชิ้นส่วนที่มีความซับซ้อนสูง ซึ่งหุ่นยนต์ของ ABB
ทั้ง 2 รุ่น จะท�าให้มั่นใจได้ว่าโรงงานมีมาตรฐานความปลอดภัย
และคุณภาพในการผลิตขั้นสูง ส�าหรับการติดตั้งใช้งานใน
โรงงานก็เป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็วด้วยการใช้โปรแกรม Robot
Studio® จาก ABB ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจ�าลองและ
เขียนค�าสั่งควบคุมหุ่นยนต์บนเครื่องคอมพิวเตอร์
ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้ามีความส�าคัญอย่างมากใน
การจ่ายไฟ ลดมลพิษบนท้องถนน และในระบบการขนส่งแบบ
ราง ซึ่งการเก็บพลังงานที่มีประสิทธิภาพจัดเป็นความจ�าเป็นขั้น
พื้นฐานส�าหรับการด�าเนินงานด้านรถบัสไฟฟ้าและรถบรรทุก
ไฟฟ้า โดยช่วยให้สามารถเก็บพลังงานด้วยการดึงพลังงานกลับ
คืนจากการเบรกได้ เป็นต้น การติดตั้งระบบกักเก็บพลังงาน
ไฟฟ้าเข้าไปในยานพาหนะ จะช่วยให้สามารถแปลงรถยนต์
ระบบขับเคลื่อนดีเซลให้กลายเป็นรถดีเซลไฮบริด (แบบผสม คือ
สามารถใช้ได้ทั้งระบบไฟฟ้าและน�้ามัน) ซึ่งจะช่วยลดการปล่อย
กาซคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากถึง 30 เปอร์เซ็นต์ เทคโนโลยีนี้
จึงช่วยให้ผู้ประกอบการด้านการขนส่งมีทางเลือกที่หลากหลาย
ในการปรับเปลี่ยนเพื่อให้ได้ระบบขนส่งที่ยั่งยืนมากขึ้น