Page 49 - Digital Resilience ภูมิคุ้มกันในโลกดิจิทัล
P. 49
สื่อสังคมที่เยาวชนใช เป นประจํามีอยู หลายประเภท จึงทําให มีวัตถุประสงค ในการใช งาน
ที่แตกต างกันออกไป เช น เล นเกม อ านข าว ติดต อสื่อสาร หรือใช เพื่อความบันเทิง
วัตถุประสงค ที่หลากหลายจึงกลายเป นป จจัยสําคัญที่ทําให เยาวชนสร างตัวตนของ
ตัวเองที่แตกต างกันออกไปในแต ละสื่อด วย โดยถูกแบ งออกเป น แบบหลัก ๆ คือ
ต า ส ย มต า ตัวตน
ต รู� ร ม ว าส สั คมท ต า กัน ตัวตน เยาวชนก ตกต า กัน ก
ด�วยจากการเก บ � มูล บว า เยาวชน ทย ด� บ ตัวตน กเ น
บบ ลัก ดั ต น
1. Friendly profile
ใคร ๆ ก็เข าถึง ันได หมายถึงเยาวชนจะแชร สถานะของตัวเองว าทําอะไร
ที่ไหน หรือรู สึกอย างไรอยู ตลอดเวลา ในสื่อที่เพื่อน ๆ และครอบครัวสามารถ
มองเห็นได เช น acebook
2. Private profile
รู จัก ันแค ที่ ันอยากให รู จักก็พอ คือตัวตนที่เยาวชนจํากัดให บางคนเห็นได เท านั้น เยาวชน
จึงเลือกที่จะตั้งบัญชี ocial e ia ให เป นแบบส วนตัว และเป ดรับเ พาะคนที่ต องการเท านั้น
ซึ่งส วนใหญ เยาวชนจะแสดงตัวตนแบบนี้ใน nstagra
3. Nameless
ไร ตัวตน คือการที่เยาวชนไม ต องการเป ดเผยตัวตนด วยเหตุผลต าง ๆ เช น ใช แกล งเพื่อน
ใช แสดงความคิดเห็น หรือใช เพื่อด าทอ การป องกันความเสี่ยงที่ดีที่สุดก็คือการไม แสดง
ตัวตนนั่นเอง โดยเราสามารถเห็นพ ติกรรมเช นนี้ได เยอะมาก ๆ ใน t itter
45 ภูมิคุ�มกันในโลกดิจิทัล