Page 13 - การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการ เพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ
P. 13
4
การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการเพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การท�ให้เกิดการตระหนักถึงพลังกลุ่มใน
การแก้ปัญหาจะช่วยสร้างความสัมพันธ์ให้บุคคลที่รู้สึกขาดพลังใจ
สามารถมีจุดมุ่งหมายร่วมกันในการแก้ปัญหาได้อย่างมั่นใจขึ้น
ลักษณะของการด�เนินการเพื่อให้เกิดการสร้างจิตส�นึกร่วมกัน
เช่น ประชุมร่วมกันของสมาชิกชุมชน เพื่อการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
ในชุมชน การมีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน เป็นต้น
3) การลดการต�หนิตนเอง (reducing self-blame)
โดยการปรับเปลี่ยนจุดเน้นจากการมองเฉพาะปัญหาตนเอง
หรือกล่าวโทษตนเองให้เป็นการน�ปัญหาตนเองมาพูดคุยในกลุ่ม
เพื่อสร้างความรับผิดชอบร่วมกันในการมองและแก้ไขปัญหา
วิธีนี้จะช่วยให้บุคคลที่มีปัญหารู้สึกเป็นอิสระจากสถานการณ์
ทางลบที่ตนประสบอยู่ และเกิดความเป็นเจ้าของกลุ่มร่วมกัน
4) การสร้างความรู้สึกให้บุคคลเกิดความรับผิดชอบต่อ
การเปลี่ยนแปลงในอนาคต (assuming personal responsibility
for change) โดยการให้บุคคลนั้นได้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและ
รู้สึกถึงพลังของการเป็นเจ้าของร่วมกัน น�มาสู่การแสวงหา
แนวทางแก้ไข แก้ปัญหาหรือการท�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ซึ่งจะท�ให้กลุ่มเกิดความเข้มแข็งมากขึ้น
และจากการทบทวนวรรณกรรม พบว่าแนวคิดการให้การ
ปรึกษาชุมชน (Community Counseling) เป็นกรอบที่จะช่วย
ท�ให้เกิดความครอบคลุมส�หรับกลวิธีในการให้ความช่วยเหลือ
และการให้บริการ ที่ส่งเสริมความงอกงามส่วนบุคคลและ
สวัสดิภาพของตัวบุคคลและชุมชน รูปแบบของการให้การปรึกษา
ชุมชน ประกอบไปด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ในการให้บริการซึ่ง
เป็นกรอบในการให้ความช่วยเหลือให้คนพิการ และครอบครัว
สามารถน�ไปใช้ในการปฏิบัติได้ ซึ่งเป็นกรอบที่บูรณาการ
คุณประโยชน์ของทฤษฎีเชิงบริบท ทฤษฎีทางด้านพัฒนาการ
ทฤษฎีการเรียนรู้ และทฤษฎีการให้ค�ปรึกษา เข้าด้วยกัน
ซึ่งจะน�ให้ผู้ปฏิบัติการทางด้านการบริการและให้ความ
ช่วยเหลือ ได้ท�การพิจารณาถึงหลักการต่าง ๆ ในเชิงตัวบุคคล