Page 27 - การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการ เพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ
P. 27
18
การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการเพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ
แต่ยังไม่สามารถได้รับสิทธิ เนื่องจากไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่
ก�หนดไว้ในนโยบายของประเทศ จึงอาจท�ให้เกิดความเหลื่อมล�้า
ในการเข้าถึงสิทธิ์
นอกจากนั้น เจิมจันทร์ เดชปั้น (2560) ได้ศึกษา การเข้าถึงและ
ใช้ประโยชน์จากสิทธิตามมาตรา 20 ของ พ.ร.บ. ส่งเสริมคุณภาพ
ชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 พบว่า คนพิการเข้าถึงสิทธิเนื่องจาก
ความสะดวกของการติดต่อสื่อสารเป็นส่วนใหญ่ อาจท�ให้การ
ติดต่อและสร้างสัมพันธภาพได้ดี ส่งผลต่อความสามารถรับรู้
แหล่งข้อมูล ท�ให้คนพิการได้รับรู้และได้รับสิทธิต่าง ๆ อย่างค่อนข้าง
ทั่วถึง และเข้าถึงบริการภาครัฐของคนพิการมากขึ้น และนโยบาย
ภาครัฐที่ชัดเจนในการพัฒนา
โดยภาพรวมแล้ว คุณภาพชีวิตคนพิการ ที่ก�หนดเป็น
พระราชบัญญัติ เพื่อเป็นแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการมีผล
ให้ทุกฝ่ายให้ความความส�คัญต่อคนพิการ ท�ให้คนพิการเข้าถึง
และใช้ประโยชน์จากสิทธิได้มากขึ้น ส่งผลให้ความสามารถในการ
ประกอบกิจวัตรประจ�วันสามารถคนพิการช่วยเหลือตนเองได้
จากข้อมูลงานวิจัยของอาดัม นีละไพจิตร และคณะ (2564)
ได้ศึกษาและพัฒนารูปแบบบริการสุขภาพปฐมภูมิที่บูรณาการ
กับบริการทางสังคมส�หรับคนพิการทางการเห็น พบว่า ผลการ
วิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการเข้าถึงสิทธิคนพิการ
ดังรูป
ความต้องการ
สิทธิคนพิการ
.391** .047**
ความรู้ความเข้าใจ .272** การรับรู้สิทธิ .723** การเข้าถึงสิทธิ
ในการดูแลตนเอง คนพิการ คนพิการ
**p<.01
ภาพที่ 2 สาเหตุการเข้าถึงสิทธิคนพิการ